รางวัลโทรทัศน์ทองคำ
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ | |
---|---|
ปัจจุบัน: รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 38 | |
ไฟล์:Tvgold.jpg รางวัลโทรทัศน์ทองคำ | |
รางวัลสำหรับ | ผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ |
ประเทศ | ไทย |
จัดโดย | ชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ |
รางวัลแรก | 29 มกราคม พ.ศ. 2517 |
| |||||||||||||||||||||||||
|
ประวัติ
แก้ชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ (ชื่อเดิม: ชมรมส่งเสริมกิจการโทรทัศน์ไทย)[1] ได้จัดงานโทรทัศน์ทองคำ เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่เจ้าของผลงานที่มีคุณภาพในสาขาต่างๆ และผลงานของทางสถานีโทรทัศน์ จากการตัดสินรางวัลของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิระดับนักวิชาการและนักสื่อสารมวลชน เพื่อส่งเสริมและเป็นกำลังใจแก่ผู้เกี่ยวข้องในสายงานโทรทัศน์ และส่งเสริมให้มีการผลิตรายการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมต่อไป โดยทางชมรมได้ร่วมมือกับ หนังสือพิมพ์อินไซด์ทีวี ตั้งแต่ครั้งแรก จนถึง ครั้งที่ 7 หลังจากหนังสือพิมพ์ยุติการดำเนินธุรกิจ ก็ได้เปลี่ยนผู้ร่วมดำเนินงานเป็น สภาสถาบันนักวิชาการสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (ส.ส.ม.ท.) และ มูลนิธิจำนง รังสิกุล ตามลำดับ โดยจะมีพิธีมอบรางวัลต่อเนื่องทุกปี ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม โดยถือเป็นรายการมอบรางวัลทางโทรทัศน์ที่ไม่มีปีใดงดจัด เพียงแต่บางปีต้องเลื่อนกำหนดการมอบรางวัลให้ล่าช้ากว่าเดิม เนื่องด้วยเหตุผลสำคัญ (เช่นในครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2550 ได้เลื่อนกำหนดเป็นวันที่ 26 กรกฎาคม 2551) สำหรับผู้ตั้งชื่อ "โทรทัศน์ทองคำ" คือ ศ.ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประกอบด้วยรางวัลประเภทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวงการโทรทัศน์ รวมถึงรางวัลมิวสิกวิดีโอดีเด่น ซึ่งถือเป็นรายการแรกที่กำหนดรางวัลประเภทนี้ขึ้นมา โดยเริ่มมาตั้งแต่ครั้งแรกจนถึงปัจจุบัน โดยในยุคแรกจะทำการตัดสินมอบรางวัลให้แก่ผู้ชนะเลิศและรองชนะเลิศ แต่การตัดสินในยุคต่อมาจะมอบให้แก่ผู้ชนะเลิศเพียงผลงานเดียวเท่านั้น จากผู้เข้ารอบสุดท้าย 5 ผลงาน จนถึงครั้งที่ 24 ได้มีการแบ่งรางวัลมิวสิกวิดีโอดีเด่นเป็นสองรางวัล โดยมอบให้แก่เจ้าของผลงานมิวสิกวิดีโอเพลงไทยสากล และเจ้าของผลงานมิวสิกวิดีโอเพลงไทยลูกทุ่ง ส่วนรางวัลประเภทละครโทรทัศน์ โดยเฉพาะรางวัลสำหรับนักแสดง ทุก ๆ ปีจะมีผู้เข้ารอบสุดท้ายสาขารางวัลละ 5 ราย โดยจะมอบให้แก่ผู้มีฝีมือการแสดงได้ดีเด่นที่สุดเพียงท่านเดียว
ลำดับงานประกาศผลรางวัล
แก้ครั้ง | วันที่ | สถานที่ | สถานี |
---|---|---|---|
ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2529 | 17 มกราคม พ.ศ. 2530 | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 |
ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2530 | 16 มกราคม พ.ศ. 2531 | โรงละครแห่งชาติ | สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 |
ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2531 | 28 มกราคม พ.ศ. 2532 | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 |
ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2532 | 20 มกราคม พ.ศ. 2533 | โรงละครแห่งชาติ | สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 |
ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2533 | 13 มกราคม พ.ศ. 2534 | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 |
ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2534 | 18 มกราคม พ.ศ. 2535 | สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. | |
ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2535 | 23 มกราคม พ.ศ. 2536 | โรงละครแห่งชาติ | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 |
ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2536 | 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | |
ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2537 | 20 มกราคม พ.ศ. 2538 | สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 | |
ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2539 | 2 มีนาคม พ.ศ. 2540 | สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 | |
ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2540 | 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 | |
ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2541 | 14 มีนาคม พ.ศ. 2542 | กรมประชาสัมพันธ์ | สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 |
ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2542 | 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 | |
ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2543 | 9 มีนาคม พ.ศ. 2544 | สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 | |
ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2544 | 16 มีนาคม พ.ศ. 2545 | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 | |
ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2545 | 30 มีนาคม พ.ศ. 2546 | สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 | |
ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2546 | 13 มีนาคม พ.ศ. 2547 | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 | |
ครั้งที่ 19 พ.ศ. 2547 | 9 เมษายน พ.ศ. 2548 | ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย | สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 |
ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2548 | 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 | กรมประชาสัมพันธ์ | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 |
ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2549 | 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 | สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี | |
ครั้งที่ 22 พ.ศ. 2550 | 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 | |
ครั้งที่ 23 พ.ศ. 2551 | 14 มีนาคม พ.ศ. 2552 | สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 | |
ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2552 | 20 มีนาคม พ.ศ. 2553 | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 | |
ครั้งที่ 25 พ.ศ. 2553 | 19 มีนาคม พ.ศ. 2554 | สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 | |
ครั้งที่ 26 พ.ศ. 2554 | 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 | |
ครั้งที่ 27 พ.ศ. 2555 | 22 มิถุนายน พ.ศ. 2556 | ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย | สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 |
ครั้งที่ 28 พ.ศ. 2556 | 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 | คิง เพาเวอร์ | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 |
ครั้งที่ 29 พ.ศ. 2557 | 14 มีนาคม พ.ศ. 2558 | กรมประชาสัมพันธ์ | สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 |
ครั้งที่ 30 พ.ศ. 2558 | 12 มีนาคม พ.ศ. 2559 | ช่อง 3 เอสดี | |
ครั้งที่ 31 พ.ศ. 2559 | 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 | ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย | ช่องเวิร์คพอยท์ |
ครั้งที่ 32 พ.ศ. 2560 | 31 มีนาคม พ.ศ. 2561 | ช่อง 3 เอสดี | |
ครั้งที่ 33 พ.ศ. 2561 | 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 | ||
ครั้งที่ 34 พ.ศ. 2562 | 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 | สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 | |
ครั้งที่ 35 พ.ศ. 2563 | 17 กันยายน พ.ศ. 2564 | หมายเหตุ: เป็นการจัดรางวัลในรูปแบบปิด มีเพียงประกาศผลผู้ชนะ และนำรางวัลส่งให้กับผู้ชนะในภายหลัง |
พีพีทีวี |
ครั้งที่ 36 พ.ศ. 2564 | 11 มิถุนายน พ.ศ. 2565 | หอศิลป์แห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม | |
ครั้งที่ 37 พ.ศ. 2565 | 10 มิถุนายน พ.ศ. 2566 | ช่องเวิร์คพอยท์ | |
ครั้งที่ 38 พ.ศ. 2566 | 8 มิถุนายน พ.ศ. 2567 | ทรูโฟร์ยู |
ผลรางวัล
แก้ในที่นี้ จะเป็นผลการตัดสินรางวัลโทรทัศน์ทองคำที่สำคัญ ๆ ดังนี้
รางวัลประเภทละครโทรทัศน์
แก้ครั้ง(ปี)ที่จัด | นักแสดงนำชายดีเด่น | นักแสดงนำหญิงดีเด่น | นักแสดงสมทบชายดีเด่น | นักแสดงสมทบหญิงดีเด่น |
---|---|---|---|---|
ครั้งที่ 1 (2529) | ฉัตรชัย เปล่งพานิช
สายโลหิต (ช่อง 3) |
นาถยา แดงบุหงา คนมีคาว (ช่อง 3) |
ดิลก ทองวัฒนา กามนิต-วาสิฏฐี (ช่อง 3) |
จุรี โอศิริ สายโลหิต (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 2 (2530) | พิศาล อัครเศรณี
อวสานเซลส์แมน (ช่อง 3) |
อภิรดี ภวภูตานนท์ ทองเนื้อเก้า (ช่อง 7) |
กำธร สุวรรณปิยะศิริ บนถนนสายเดียวกัน-สมาชิกใหม่ (ช่อง 9) |
ปาหนัน ณ พัทลุง ปริศนา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 3 (2531) | บิณฑ์ บรรลือฤทธิ์
แผลเก่า (ช่อง 7) |
อภิรดี ภวภูตานนท์ อีสา (ช่อง 7) |
ส. อาสนจินดา เกมกามเทพ (ช่อง 3) |
ธนาภรณ์ รัตนเสน อีสา (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 4 (2532) | เสกสรร ชัยเจริญ
สุดแต่ใจจะไขว่คว้า (ช่อง 3) |
ปรียานุช ปานประดับ สงครามเงิน (ช่อง 7) |
สอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ สุดแต่ใจจะไขว่คว้า (ช่อง 3) |
ชไมพร จตุรภุช จำเลยรัก (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 5 (2533) | ธงไชย แมคอินไตย์
คู่กรรม (ช่อง 7) |
ชไมพร จตุรภุช ขมิ้นกับปูน (ช่อง 7) |
รอน บรรจงสร้าง กตัญญูประกาศิต (ช่อง 3) |
ดวงดาว จารุจินดา คู่กรรม (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 6 (2534) | โกวิท วัฒนกุล
ไผ่แดง (ช่อง 7) |
จินตหรา สุขพัฒน์ สี่แผ่นดิน (ช่อง 3) |
ปัญญา นิรันดร์กุล ตะวันชิงพลบ (ช่อง 7) |
ดวงดาว จารุจินดา กนกลายโบตั๋น (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 7 (2535) | วรุฒ วรธรรม
ในฝัน (ช่อง 3) |
มาช่า วัฒนพานิช ไฟโชนแสง (ช่อง 3) |
บำเรอ ผ่องอินทรีย์ เมืองโพล้เพล้ (ช่อง 7) |
ปภัสรา ชุตานุพงษ์ สมเด็จพระสุริโยทัย (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 8 (2536) | ธงไชย แมคอินไตย์
วันนี้ที่รอคอย (ช่อง 7) |
จันทร์จิรา จูแจ้ง ด้วยสองมือแม่นี้ที่สร้างโลก (ช่อง 3) |
บดินทร์ ดุ๊ก คนละโลก (ช่อง 5) |
สุภาภรณ์ คำนวณศิลป์ วันนี้ที่รอคอย (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 9 (2537) | ไพโรจน์ สังวริบุตร
ถนนสายสุดท้าย (ช่อง 7) |
สินจัย เปล่งพานิช ล่า (ช่อง 5) |
พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง โสมส่องแสง (ช่อง 3) |
รัญญา ศิยานนท์ เกมเกียรติยศ (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 10 (2538) | พีท ทองเจือ
เงาราหู (ช่อง 3) |
จารุณี สุขสวัสดิ์ คือหัตถาครองพิภพ (ช่อง 7) |
สันติสุข พรหมศิริ เลือดเข้าตา (ช่อง 5) |
สิริยากร พุกกะเวส ร่มฉัตร (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 11 (2539) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
โปลิศจับขโมย (ช่อง 3) |
ลลิตา ปัญโญภาส ทรายสีเพลิง (ช่อง 3) |
คาเมล ซาลวาลา หักลิ้นช้าง (ช่อง 7) |
บุษกร พรวรรณะศิริเวช เพลิงบุญ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 12 (2540) | เกริกพล มัสยวาณิช
ดวงไฟในพายุ (ช่อง 5) |
แอน ทองประสม สองนรี (ช่อง 3) |
ฉัตรชัย เปล่งพานิช รุ้งสามสาย (ช่อง 3) |
ธัญญา วชิรบรรจง ตามหัวใจไปสุดหล้า (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 13 (2541) | จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์
ท่านชายกำมะลอ (ช่อง 3) |
จริยา แอนโฟเน่ บ่วงดวงใจ (ช่อง 3) |
วรวุฒิ นิยมทรัพย์ ซอยปรารถนา 2500 (ช่อง 7) |
บุษกร พรวรรณะศิริเวช จับตายวายร้ายสายสมร (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 14 (2542) | อำพล ลำพูน
มือปืน (ช่อง 3) |
แอน ทองประสม เจ้าสาวปริศนา (ช่อง 3) |
จักรกฤษณ์ คชรัตน์ ข้ามสีทันดร (ช่อง 7) |
ธัญญา วชิรบรรจง ตาเบบูญ่า (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 15 (2543) | นพพล โกมารชุน
หงส์เหนือมังกร (ช่อง 5) |
มาช่า วัฒนพานิช หงส์เหนือมังกร (ช่อง 5) |
พนมกร ตังทัตสวัสดิ์ หงส์เหนือมังกร (ช่อง 5) |
พิศมัย วิไลศักดิ์ ไม้เมือง (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 16 (2544) | แอนดริว เกรกสัน
รักเกิดในตลาดสด (ช่อง 7) |
พรชิตา ณ สงขลา สะใภ้ไร้ศักดินา (ช่อง 3) |
โอลิเวอร์ พูพาร์ท ขอหยุดหัวใจไว้เพียงเธอ (ช่อง 3) |
สกาวใจ พูนสวัสดิ์ ทางผ่านกามเทพ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 17 (2545) | ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์
ไอ้ม้าเหล็ก (ช่อง 3) |
ซอนย่า คูลิ่ง มายา (ช่อง 7) |
ยุทธพิชัย ชาญเลขา คนละโลก (ช่อง 7) |
อำภา ภูษิต นิราศสองภพ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 18 (2546) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
ดงดอกเหมย (ช่อง 3) |
จริยา แอนโฟเน่ ดงดอกเหมย (ช่อง 3) |
ดิลก ทองวัฒนา ไฟล้างไฟ (ช่อง 3) |
สกาวใจ พูนสวัสดิ์ ดงดอกเหมย (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 19 (2547) | รวิชญ์ เทิดวงส์
แฝดพี่ฝาดน้อง(ช่อง 3) |
วรนุช วงษ์สวรรค์ แม่อายสะอื้น (ช่อง 7) |
สุประวัติ ปัทมสูต แม่อายสะอื้น (ช่อง 7) |
สโรชา วาทิตตพันธ์ รักแผลงฤทธิ์(ช่อง 3) |
ครั้งที่ 20 (2548) | ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์
สองเรานิรันดร (ช่อง 3) |
ศิริลักษณ์ ผ่องโชค ราชินีหมอลำ (ช่อง 3) |
รอน บรรจงสร้าง ราชินีหมอลำ (ช่อง 3) |
สกาวใจ พูนสวัสดิ์ แต่ปางก่อน (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 21 (2549) | อธิชาติ ชุมนานนท์
ลมหวน (ช่อง 3) |
ลลิตา ศศิประภา วีรกรรมทำเพื่อเธอ (ช่อง 3) |
หลุยส์ สก็อต ดวงใจปาฏิหาริย์ (ช่อง 7) |
สาวิตรี สามิภักดิ์ ตี๋ตระกูลซ่ง (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 22 (2550) | ชาตโยดม หิรัณยัษฐิติ
เมื่อดอกรักบาน (ช่อง 3) |
ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ เมื่อดอกรักบาน (ช่อง 3) |
พิเชษฐ์ไชย ผลดี กรุงเทพราตรี (ช่อง 3) |
จริยา แอนโฟเน่ มณีดิน (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 23 (2551) | ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ สวรรต์เบี่ยง (ช่อง 3) |
อารยา เอ ฮาร์เก็ต ดาวเปื้อนดิน (ช่อง 7) |
ดิลก ทองวัฒนา สวรรต์เบี่ยง (ช่อง 3) |
จารุณี สุขสวัสดิ์ นิมิตรมาร (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 24 (2552) | ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ สูตรเสน่หา (ช่อง 3) |
แอน ทองประสม สูตรเสน่หา (ช่อง 3) |
พงษ์พัฒน์ วชิระบรรจง พระจันทร์สีรุ้ง (ช่อง 3) |
พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร ชิงชัง (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 25 (2553) | เจษฎาภรณ์ ผลดี วนิดา (ช่อง 3) |
เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ระบำดวงดาว (ช่อง 3) |
อรรคพันธ์ นะมาตร์ พระจันทร์ลายพยัคฆ์ (ช่อง 7) |
รินลณี ศรีเพ็ญ วนิดา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 26 (2554) | ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ เรือนแพ (ช่อง 5) |
อารยา เอ ฮาร์เก็ต ดอกส้มสีทอง (ช่อง 3) |
หลุยส์ สก๊อต ดอกส้มสีทอง (ช่อง 3) |
ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ มงกุฎดอกส้ม (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 27 (2555) | อธิชาติ ชุมนานนท์ ขุนศึก (ช่อง 3) |
ศิรพันธ์ วัฒนจินดา บ่วง (ช่อง 3) |
รวิชญ์ เทิดวงศ์ แรงเงา (ช่อง 3) |
ธัญญาเรศ เองตระกูล แรงเงา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 28 (2556) | ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ คุณชายปวรรุจ (ช่อง 3) |
ณฐพร เตมีรักษ์ คุณชายรัชชานนท์ (ช่อง 3) |
อเล็กซ์ เรนเดลล์ สามี (ช่อง 3) |
อำภา ภูษิต ทองเนื้อเก้า (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 29 (2557) | ณเดชน์ คูกิมิยะ รอยฝันตะวันเดือด (ช่อง 3) |
จีรนันท์ มะโนแจ่ม เนตรนาคราช (ช่อง 7) |
วรวุฒิ นิยมทรัพย์ มาลีเริงระบำ (ช่อง 3) |
วรัทยา นิลคูหา สามีตีตรา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 30 (2558) | ณัฐวุฒิ สกิดใจ ทางผ่านกามเทพ (ช่อง 3) |
พิยดา จุฑารัตนกุล บัลลังก์เมฆ (ช่องวัน) |
พศุตม์ บานแย้ม บางระจัน (ช่อง 3) |
คะนึงนิจ จักรสมิทธานนท์ เลื่อมสลับลาย (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 31 (2559) | ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์ ขุนกระทิง (ช่อง 7) |
ณฐพร เตมีรักษ์ นาคี (ช่อง 3) |
วินัย ไกรบุตร The Angels นางฟ้าล่าผี ปี 2 (ช่อง โมโน 29) |
กมลเนตร เรืองศรี ชาติพยัคฆ์ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 32 (2560) | ณเดชน์ คูกิมิยะ เล่ห์ลับสลับร่าง (ช่อง3) |
อุรัสยา เสปอร์บันด์ คลื่นชีวิต (ช่อง 3) |
หลุยส์ สก๊อต เพลิงบุญ (ช่อง 3) |
ทัศนียา การสมนุช เพลิงพระนาง (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 33 (2561) | ณเดชน์ คูกิมิยะ ลิขิตรัก The Crown Princess (ช่อง3) |
ราณี แคมเปน บุพเพสันนิวาส (ช่อง 3) |
หลุยส์ สก๊อต บุพเพสันนิวาส (ช่อง 3) |
ซาร่า เล็กจ์ ลิขิตรัก The Crown Princess (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 34 (2562) | มาริโอ้ เมาเร่อ ทองเอก หมอยา ท่าโฉลง (ช่อง3) |
ใหม่ เจริญปุระ กรงกรรม (ช่อง 3) |
รอง เค้ามูลคดี ทองเอก หมอยา ท่าโฉลง (ช่อง 3) |
ศรีริต้า เจนเซ่น เพลิงรักเพลิงแค้น (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 35 (2563) | ศรราม เทพพิทักษ์ บังเกิดเกล้า (อมรินทร์ทีวี) |
คริส หอวัง เนื้อใน (จีเอ็มเอ็ม 25) |
พศุตม์ บานแย้ม เนื้อใน (จีเอ็มเอ็ม 25) |
บุษกร วงศ์พัวพันธ์ ทุ่งเสน่หา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 36 (2564) | ปริญ สุภารัตน์ เกมล่าทรชน (ช่อง 3) |
เมลดา สุศรี มนต์รักหนองผักกะแยง (ช่อง 3) |
ชาคริต แย้มนาม วันทอง (ช่องวัน) |
ทิฆัมพร ฤทธิ์ธาอภินันท์ เล่ห์ลวง (ช่องวัน) |
ครั้งที่ 37 (2565) | มาริโอ้ เมาเร่อ (คือเธอ) (ช่อง 3) |
พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ สร้อยสะบันงา (ช่อง 3) |
ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต ลายกินรี (ช่อง 3) |
เพ็ญพักตร์ ศิริกุล จังหวะหัวใจนายสะอาด (พีพีทีวี) |
ครั้งที่ 38 (2566) | จิรายุ ตั้งศรีสุข (มาตาลดา) (ช่อง 3) |
แอน ทองประสม เกมรักทรยศ (ช่อง 3) |
ณัฏฐ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา บุษบาลุยไฟ (ไทยพีบีเอส) |
ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ สงครามเงิน (อมรินทร์ทีวี) |
ครั้ง (ปี) ที่จัด | ผู้กำกับการแสดงละครดีเด่น | บทละครโทรทัศน์ดีเด่น | เพลงนำละครดีเด่น | ฉากละครดีเด่น |
---|---|---|---|---|
ครั้งที่ 1 (2529) | สุพรรณ บูรณะพิมพ์ สายโลหิต (ช่อง 3) |
ประภาส, วัชระ แวว, ศุ เทวดาตกสวรรค์ (ช่อง 9) |
เพลงส่งท้ายในแต่ละตอน จาก ผู้พิทักษ์ความสะอาด (ช่อง 9) |
เพิ่มศักดิ์, อภิชาติ, สายัณห์ สายโลหิต (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 2 (2530) | มานพ สัมมาบัติ ทองเนื้อเก้า (ช่อง 7) |
คนพวน (ยิ่งยศ ปัญญา) ทองเนื้อเก้า (ช่อง 7) |
เพลงนำละคร พิกุลทอง (ช่อง 7) |
สุภรณ์, เฉลิมลาภ ปริศนา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 3 (2531) | วรยุทธ พิชัยศรทัต สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ช่อง 3) |
วรยุทธ พิชัยศรทัต สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ช่อง 3) |
วิทยา อัมภสุวรรณ อีสา (ช่อง 7) |
ฝ่ายศิลปกรรมช่อง 3 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 4 (2532) | นพพล โกมารชุน สุดแต่ใจจะไขว่คว้า (ช่อง 3) |
ศัลยา ปริศนาของเวตาล (ช่อง 7) |
เทียรี่ เมฆวัฒนา สุดแต่ใจจะไขว่คว้า (ช่อง 3) |
ฝ่ายศิลปกรรมช่อง 3 สงครามเก้าทัพ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 5 (2533) | ไพรัช สังวริบุตร คู่กรรม (ช่อง 7) |
ศัลยา คู่กรรม (ช่อง 7) |
พีระพงษ์ พลชนะ (ต้อม เรนโบว์) ขมิ้นกับปูน (ช่อง 7) |
ธีระศักดิ์, เสนาะ, มนัส, วารินทร์ คู่กรรม (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 6 (2534) | สุประวัติ ปัทมสูต สี่แผ่นดิน (ช่อง 3) |
นลินี สีตสุวรรณ สี่แผ่นดิน (ช่อง 3) |
พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ ตะวันชิงพลบ (ช่อง 7) |
ฝ่ายศิลปกรรม ช่อง 3 สี่แผ่นดิน (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 7 (2535) | ยุทธนา มุกดาสนิท วังน้ำวน (ช่อง 5) |
นลินี สีตสุวรรณ ในฝัน (ช่อง 3) |
จิตนาถ วัชรเสถียร คุณหญิงนอกทำเนียบ (ช่อง 7) |
- |
ครั้งที่ 8 (2536) | จรูญ ธรรมศิลป์ นางทาส (ช่อง 7) |
ศัลยา นางทาส (ช่อง 7) |
-ไม่มีเพลงใดได้รับรางวัล- | ทีมงานเอ็กแซ็กท์ บัลลังก์เมฆ (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 9 (2537) | นพพล โกมารชุน โสมส่องแสง (ช่อง 3) |
เอื้องอรุณ สมิตสุวรรณ โสมส่องแสง (ช่อง 3) |
บัตเตอร์ฟลาย โสมส่องแสง (ช่อง 3) |
ทีมยูม่า โสมส่องแสง (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 10 (2538) | สยาม สังวริบุตร สายโลหิต (ช่อง 7) |
กษิดินทร์ แสงวงศ์ อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า (ช่อง 5) |
สุทธิพงษ์ วัฒนจัง สายโลหิต (ช่อง 7) |
กำกับศิลป์ดีเด่น อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 11 (2539) | ชูชัย องอาจชัย โปลิศจับขโมย (ช่อง 3) |
- | ประภัสสร เทียมประเสริฐ เพลิงพระนาง (ช่อง 5) |
ฝ่ายศิลปกรรมดาราวิดีโอ รัตนโกสินทร์ (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 12 (2540) | ถกลเกียรติ วีรวรรณ ดวงไฟในพายุ (ช่อง 5) |
บทละคร เพื่อน (ช่อง 5) |
เพลงละคร พิสูจน์รักจากสวรรค์ (ช่อง 5) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ตามหัวใจไปสุดหล้า (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 13 (2541) | ชนะ คราประยูร บ่วงดวงใจ (ช่อง 3) |
ผอูน จันทรศิริ มารยาริษยา (ช่อง 5) |
เพลงละคร ระย้า (ช่อง 7) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น จากฝันสู่นิรันดร (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 14 (2542) | วินัย ปฐมบูรณ์ มือปืน (ช่อง 3) |
ภูเขา มือปืน (ช่อง 3) |
เพลงละคร ตะวันลับฟ้า (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น มือปืน (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 15 (2543) | นิพนธ์ ผิวเณร หงส์เหนือมังกร (ช่อง 5) |
ประโยชน์ สุศรีเจริญสุข หงส์เหนือมังกร (ช่อง 5) |
เพลงละคร หงส์เหนือมังกร (ช่อง 5) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ดอกแก้ว การะบุหนิง (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 16 (2544) | สุประวัติ ปัทมสูต สะใภ้ไร้ศักดินา (ช่อง 3) |
สรรพชัย เกิดอุทัย รักเกิดในตลาดสด (ช่อง 7) |
เพลงโดเรมี สะใภ้ไร้ศักดินา (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ลูกทาส (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 17 (2545) | สุพล วิเชียรฉาย, ฉัตรชัย นาคสุริยะ นิราศสองภพ (ช่อง 3) |
วิลักษณา ไอ้ม้าเหล็ก (ช่อง 3) |
เพลงบ่วงรัก บ่วงบรรจถรณ์ (ช่อง 7) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น นิราศสองภพ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 18 (2546) | นพดล มงคลพันธ์ พุทธานุภาพ (ช่อง 3) |
ศุภชัย สิทธิอำพรพรรณ พุทธานุภาพ (ช่อง 3) |
เพลงละคร กษัตริยา (ช่อง 5) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น กษัตริยา (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 19 (2547) | สุประวัติ ปัทมสูต เรือนไม้สีเบจ (ช่อง 3) |
ทีมเขียนบทละครซิทคอม บางรักซอย 9 (ช่อง 9) |
คาราบาว เพลง พระนเรศวรมหาราช ละคร มหาราชกู้แผ่นดิน (ช่อง 5) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น สี่แผ่นดิน (ช่อง 9) |
ครั้งที่ 20 (2548) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง กุหลาบสีดำ (ช่อง 3) |
ทีมเขียนบทละครซิทคอม เป็นต่อ (ช่อง 3) |
กมลศักดิ์ สุนทานนท์ มายาชีวิต มิตร ชัยบัญชา (ช่อง 7) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ในฝัน (ช่อง 9) |
ครั้งที่ 21 (2549) | อำไพพร จิตต์ไม่งง อุ้มรัก (ช่อง 3) |
เอกลิขิต ตี๋ตระกูลซ่ง (ช่อง 3) |
พงษ์ศักดิ์ ถนอมใจ, เศกสิทธิ์ ฟูเกียรติสุทธิ์ เพลง พ่อ - สุดรักสุดดวงใจ (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น อมฤตาลัย (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 22 (2550) | สุประวัติ ปัทมสูต รังนกบนปลายไม้ (ช่อง 3) |
กาเหว่า แหวนดอกไม้ (ช่อง 3) |
ธงชัย ประสงค์สันติ เพลง เพลงรักริมฝั่งโขง (ช่อง 7) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น เมื่อดอกรักบาน (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 23 (2551) | อำไพพร จิตต์ไม่งง สวรรค์เบี่ยง (ช่อง 3) |
เอกลิขิต โบตั๋นกลีบสุดท้าย (ช่อง 3) |
กมลศักดิ์, นิโคล, ปิติ เพลง ผิดด้วยหรือ - นิมิตมาร (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น สู่ฝันนิรันดร (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 24 (2552) | โชติรัตน์ รักเริ่มวงษ์ หยกลายเมฆ (ช่อง 3) |
ณัฐิยา ศิรกรวิไล สูตรเสน่หา (ช่อง 3) |
บุดด้า เบลส เพลง พี่ผู้ใหญ่ - ผู้ใหญ่ลีกับนางมา (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ดงผู้ดี (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 25 (2553) | ผอูน จันทรศิริ มาลัยสามชาย (ช่อง 5) |
ศัลยา ไฟอมตะ (ช่อง 9) |
ดา เอ็นโดรฟิน เพลง ให้รักเดินทางมาเจอกัน - 4 หัวใจแห่งขุนเขา (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น วนิดา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 26 (2554) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง รอยไหม (ช่อง 3) |
นันทวรรณ รุ่งวงศ์พาณิชย์ ทาสรัก (ช่อง 3) |
ศรีไศล สุชาติวุฒิ เพลง เพียงได้เคียงเธอ - รอยไหม (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น รอยไหม (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 27 (2555) | อดุลย์ บุญบุตร ขุนศึก (ช่อง 3) |
เอกลิขิต รากบุญ (ช่อง 3) |
ปิยะ ตระกูลราษฎร์ เพลง ขุนเดช - ขุนเดช (ช่อง 7) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ป่านางเสือ 2 (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 28 (2556) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ทองเนื้อเก้า (ช่อง 3) |
สองปุณณณฐ สามี (ช่อง 3) |
จารุวัฒน์ เชี่ยวอร่าม เพลง รักแท้อยู่เหนือกาลเวลา สุภาพบุรุษจุฑาเทพ ตอน คุณชายปวรรุจ (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ภาพอาถรรพณ์ (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 29 (2557) | ธรธร สิริพันธ์วราภรณ์ ลูกทาส (ช่อง 3) |
กษิดินทร์ แสงวงศ์, ภควดี แสงเพชร ในสวนขวัญ (ช่อง 3) |
Juliet Balcony (จูเลียต บัลโคนี่) เพลง สิ่งลึกลับซับซ้อนในจักรวาล Cup Cake รักล้นครีม (สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ลูกทาส (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 30 (2558) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ซีรีส์ เลือดมังกร (ช่อง 3) |
วิสุทธิชัย บัณยะกาญจน สะใภ้จ้าว (ช่อง 3) |
ชลาทิศ ตันติวุฒิ เพลง หมดดวงใจ - ข้าบดินทร์ (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น เจ้าสาวของอานนท์ (ช่องพีพีทีวี) |
ครั้งที่ 31 (2559) | สันต์ ศรีแก้วหล่อ พิษสวาท (ช่อง one 31) |
พิมพ์มาดา พัฒนอลงกรณ์ วรรณถวิล สุขน้อย พิมสิรินทร์ พงษ์วานิชสุขณัฐ กฤตา แย้มศิริ พิษสวาท (ช่อง one 31) |
นนธวรรณ ฌรรวนธร เพลง บ้านนอกแล้วไง - สาวน้อยร้อยล้าน (ช่อง 3) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น นาคี (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 32 (2560) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง รากนครา (ช่อง 3) |
ณัฐิยา ศิรกรวิไล เพลิงบุญ (ช่อง 3) |
หนึ่งธิดา โสภณ เพลงราชินีหมอลำ - ราชินีหมอลำ (ช่อง one 31) |
องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น รากนครา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 33 (2561) | ภวัต พนังคศิริ บุพเพสันนิวาส (ช่อง 3) |
ศัลยา สุขะนิวัตติ์ บุพเพสันนิวาส (ช่อง 3) |
- | องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ลิขิตรัก The Crown Princess (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 34 (2562) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง กรงกรรม (ช่อง 3) |
ยิ่งยศ ปัญญา กรงกรรม (ช่อง 3) |
- | องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น กลิ่นกาสะลอง (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 35 (2563) | ผอูน จันทรศิริ รักแลกภพ (ช่องวัน 31) |
ทิพย์ธิดา ศรัทธาทิพย์ (ปราณประมูล) ปลายจวัก (ช่องไทยพีบีเอส) |
- | องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ดั่งดวงหฤทัย (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 36 (2564) | พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง มนต์รักหนองผักกะแยง (ช่อง 3 เอชดี) |
ทานตะวัน บาปอยุติธรรม” (ช่อง 3 เอชดี) |
- | องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น แม่เบี้ย (ช่อง 7 เอชดี) |
ครั้งที่ 37 (2565) | อำไพพร จิตต์ไม่งง คือเธอ (ช่อง 3 เอชดี) |
เอกลิขิต สาปซ่อนรัก (ช่อง 3 เอชดี) |
- | องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น ลายกินรี (ช่อง 3 เอชดี) |
ครั้ง (ปี) ที่จัด | ละครชีวิตดีเด่น | ละครสะท้อน/สร้างสรรค์สังคมดีเด่น | ละครส่งเสริมเยาวชนดีเด่น | ละครดีเด่น |
---|---|---|---|---|
ครั้งที่ 1 (2529) | ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้น (ช่อง 7) | - | - | เทวดาตกสวรรค์ (ช่อง 9) |
ครั้งที่ 2 (2530) | ทองเนื้อเก้า (ช่อง 7) | - | - | - |
ครั้งที่ 3 (2531) | อีสา (ช่อง 7) | บุญเติมร้านเดิมที่ใหม่ (ช่อง 9) | - | - |
ครั้งที่ 4 (2532) | สุดแต่ใจจะไขว่คว้า (ช่อง 3) | - | - | - |
ครั้งที่ 5 (2533) | คู่กรรม (ช่อง 7) | ขมิ้นกับปูน (ช่อง 7) | - | - |
ครั้งที่ 6 (2534) | ตะวันชิงพลบ (ช่อง 7) ละครชีวิตธุรกิจดีเด่น |
- | - | สี่แผ่นดิน (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 7 (2535) | ลอดลายมังกร (ช่อง 7) | อรุณสวัสดิ์ (ช่อง 7) | - | - |
ครั้งที่ 8 (2536) | คำมั่นสัญญา (ช่อง 3) | บัลลังก์เมฆ (ช่อง 5) | - | - |
ครั้งที่ 9 (2537) | ปลายฝนต้นหนาว (ช่อง 7) | ถนนสายสุดท้าย (ช่อง 7) | - | โสมส่องแสง (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 10 (2538) | มนต์รักลูกทุ่ง (ช่อง 7) | |||
ครั้งที่ 11 (2539) | ไม้อ่อน (ช่อง 3) | |||
ครั้งที่ 12 (2540) | กระท่อมไม้ไผ่ (ช่อง 7) | เพื่อน (ช่อง 5) | ดวงไฟในพายุ (ช่อง 5) | |
ครั้งที่ 13 (2541) | ละครสะท้อนสังคมดีเด่น มารยาริษยา (ช่อง 5) ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ผู้ชายหัวใจไม่แพ้ (ช่อง 5) |
|||
ครั้งที่ 14 (2542) | มือปืน (ช่อง 3) | |||
ครั้งที่ 15 (2543) | หงส์เหนือมังกร (ช่อง 5) | |||
ครั้งที่ 16 (2544) | เก็บแผ่นดิน (ช่อง 7) | สะใภ้ไร้ศักดินา (ช่อง 3) | ||
ครั้งที่ 17 (2545) | นิราศสองภพ (ช่อง 3) | |||
ครั้งที่ 18 (2546) | ดงดอกเหมย (ช่อง 3) | |||
ครั้งที่ 19 (2547) | ละครส่งเสริมความสมานฉันท์ ยุทธการเข้าบัว (ช่อง 5) |
ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ธรรมะติดปีก (ช่อง 3) |
- | เรือนไม้สีเบจ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 20 (2548) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น อยู่กับก๋ง (ช่อง 5) |
- | กุหลาบสีดำ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 21 (2549) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น เรือนนารีสีชมพู (ช่อง 3) |
- | สุดรักสุดดวงใจ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 22 (2550) | - | ละครส่งเสริมครอบครัวดีเด่น บ้านนี้มีรัก (ช่อง 9) |
- | เมื่อดอกรักบาน (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 23 (2551) | - | - | - | โบตั๋นกลีบสุดท้าย (ช่อง 3) (ได้รับรางวัลละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่นอีกรางวัล) |
ครั้งที่ 24 (2552) | ละครเทิดพระเกียรติ ศรัทธา ปาฏิหาริย์ (ช่อง 5) |
ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ผู้ใหญ่ลีกับนางมา (ช่อง 3) |
- | หยกลายเมฆ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 25 (2553) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น หมอหงวน แสงดาวแห่งศรัทธา (ไทยพีบีเอส) |
- | วนิดา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 26 (2554) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น คู่เดือด (ช่อง 3) |
- | รอยไหม (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 27 (2555) | - | - | - | ขุนศึก (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 28 (2556) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ฟ้ากระจ่างดาว (ช่อง 3) |
- | ทองเนื้อเก้า (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 29 (2557) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น เด็กชายในเงา (ไทยพีบีเอส) |
หลวงตามหาชน (ช่อง 3) | ลูกทาส (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 30 (2558) | - | ละครสะท้อนสังคมดีเด่น สาบควายลายคน (ไทยพีบีเอส) ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ข้าบดินทร์ (ช่อง 3) |
น้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์ (ช่อง 3) | สุดแค้นแสนรัก (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 31 (2559) | - | ละครสะท้อนสังคมดีเด่น วัยแสบสาแหรกขาด (ช่อง 3) ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น วัยแสบสาแหรกขาด (ช่อง 3) |
- | นาคี (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 32 (2560) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น The Single Mom คุณแม่เลี้ยงเดี่ยว หัวใจฟรุ้งฟริ้ง (ช่อง 3) |
น้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์ (ช่อง 3) | รากนครา (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 33 (2561) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ริมฝั่งน้ำ (ช่อง 3) |
- | บุพเพสันนิวาส (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 34 (2562) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น วัยแสบสาแหรกขาด โครงการ 2 (ช่อง 3) |
- | - |
ครั้งที่ 35 (2563) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น เนื้อใน (จีเอ็มเอ็ม 25) |
- | - |
ครั้งที่ 36 (2564) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น Tea Box ชายชรากับหมาบ้า (ไทยพีบีเอส) |
- | - |
ครั้งที่ 37 (2565) | - | ละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น สาปซ่อนรัก (ช่อง 3 เอชดี) |
- | - |
รางวัลสำหรับบุคคล (รายการทั่วไป)
แก้ครั้ง (ปี) ที่จัด | ผู้ดำเนินรายการชายดีเด่น | ผู้ดำเนินรายการหญิงดีเด่น | ผู้อ่านข่าวดีเด่น | ผู้บรรยายกีฬาดีเด่น | ผู้ดำเนินรายการประเภททีมดีเด่น | รายการข่าว/วิเคราะห์เจาะลึกสถานการณ์ดีเด่น | รายการส่งเสริมกีฬาดีเด่น | ผู้พากย์ดีเด่น | ผู้บรรยายสารคดีดีเด่น |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ครั้งที่ 1 (2529) | ประภัทร์ ศรลัมพ์ เกร็ดชีวิตคนดัง (ช่อง 5) |
กรรณิกา ธรรมเกษร เวที-วาที (ช่อง 5) |
- | เอกชัย นพจินดา ฟุตบอลโลก 1986 |
- | - | - | - | - |
ครั้งที่ 2 (2530) | ปัญญา นิรันดร์กุล พลิกล็อกเพชร (ช่อง 5) |
ผุสชา โทณะวณิก คอนเสิร์ต คอนเทสต์ (ช่อง 5) |
- | ศุภพร มาพึ่งพงศ์ | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 3 (2531) | วิทวัส สุนทรวิเนตร์ คืนนี้ที่ช่อง 9 (ช่อง 9) |
อรพรรณ พานทอง เล็กพริกขี้หนู (ช่อง 7) |
- | สุบินสิริ เนาว์ถิ่นสุข โอลิมปิกเกมส์ 1988 |
- | - | - | - | - |
ครั้งที่ 4 (2532) | ทรงวิทย์ จิรโสภิณ ตามไปดู (ช่อง 9) |
นัฏฐา ลอยด์ ท้าพิสูจน์ (ช่อง 7) |
ลดาวัลย์ วงศ์ศรีวงศ์ (ช่อง 11) ผู้อ่านข่าวหญิง |
ศุภพร มาพึ่งพงศ์ | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 5 (2533) | เศรษฐา ศิระฉายา น่ารัก น่าลุ้น (ช่อง 5) |
วิไล อิสสระ หนึ่งในร้อย (ช่อง 3) |
ปิยะ ชำนาญกิจ (ช่อง 11) ผู้อ่านข่าวชาย อารตี คุโรปการะนันท์ (ช่อง 9) ผู้อ่านข่าวหญิง |
พิษณุ นิลกลัด (ช่อง 7) | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 6 (2534) | นิรุตติ์ ศิริจรรยา ที่นี่กรุงเทพฯ (ช่อง 5) |
อรุณโรจน์ เลี่ยมทอง กล้าคิดกล้าทำ (ช่อง 5) |
จักรพันธุ์ ยมจินดา (ช่อง 7) ผู้อ่านข่าวชาย ชุติมา รอดอยู่สุข (ช่อง 3) ผู้อ่านข่าวหญิง |
เทพพิทักษ์ จันทรสุเทพ (ช่อง 9) | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 7 (2535) | ชัยณรงค์ มณเฑียรวิเชียรฉาย 180 ไอคิว (ช่อง 5) |
หัทยา เกษสังข์ ผู้หญิงวันนี้ (ช่อง 3) |
ศันสนีย์ นาคพงศ์ (ช่อง 7) | สาธิต กรีกุล (ช่อง 3) | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 8 (2536) | ไตรภพ ลิมปพัทธ์ ทไวไลท์โชว์ (ช่อง 3) |
อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ ละครแห่งชีวิต (ช่อง 5) |
สาธิต ยุวนันทการุญ (ช่อง 3) ผู้อ่านข่าวชาย ช่อผกา วิริยานนท์ (ช่อง 5) ผู้อ่านข่าวหญิง |
สาธิต กรีกุล, เจษฎา วิจารณ์ ฟุตบอลเยอรมัน (ช่อง 3) |
- | - | - | - | - |
ครั้งที่ 9 (2537) | ศรัณยู วงศ์กระจ่าง คืนวันอาทิตย์ (ช่อง 3) |
มยุรา เศวตศิลา ชิงร้อยชิงล้าน (ช่อง 7) |
น.พ.ยงยุทธ มัยลาภ (ช่อง 5) ผู้อ่านข่าวชาย อวัสดา ปกมนตรี (ช่อง 9) ผู้อ่านข่าวหญิง |
สาธิต กรีกุล (ช่อง 3) | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 19 (2547) | ธงชัย ประสงค์สันติ คุณพระช่วย (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ผู้ดำเนินรายการ ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | สุรชา บุญเปี่ยม (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ผู้รายงานข่าวดีเด่น |
เอกราช เก่งทุกทาง (ช่อง 3) | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 20 (2548) | - | - | กิตติ สิงหาปัด (ไอทีวี) ผู้ดำเนินรายการข่าวดีเด่น |
วีรศักดิ์ นิลกลัด (ช่อง 7) | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 21 (2549) | วิศาล ดิลกวณิช บ่ายนี้มีคำตอบ (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ผู้ดำเนินรายการ ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | เกวลิน กังวานธนวัต (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ผู้ประกาศข่าวดีเด่น |
ไพโรจน์ กิ่งแก้ว (โมเดิร์นไนน์ทีวี) การแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 2006 (โดฮาเกมส์) |
- | - | - | - | - |
ครั้งที่ 22 (2550) | - | มล.สราลี กิติยากร เที่ยวละไมไทยแลนด์เวิลด์ (ช่อง 3) ผู้ดำเนินรายการ ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | วีรศักดิ์ นิลกลัด (ช่อง 7) การแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 2007 จ.นครราชสีมา |
- | - | - | - | - |
ครั้งที่ 23 (2551) | วิศาล ดิลกวณิช บ่ายนี้มีคำตอบ (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ผู้ดำเนินรายการ ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | บัญชา ชุมชัยเวทย์ (ช่อง 3) ผู้นำเสนอข่าวดีเด่น |
ไพโรจน์ กิ่งแก้ว (สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย) โอลิมปิกเกมส์ 2008 |
- | - | - | - | - |
ครั้งที่ 24 (2552) | - | สุชาดา กิจเจริญ กลมกิ๊ก (ช่อง 5) ผู้ดำเนินรายการ ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
ชัยรัตน์ ถมยา รายการทันโลก (ไทยพีบีเอส) ผู้รายงานข่าวดีเด่น |
ไพโรจน์ กิ่งแก้ว (สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย) จากการบรรยายการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 25 (เวียงจันทน์เกมส์) |
ภัทรพล ศิลปาจารย์ ญาณี จงวิสุทธิ์ วีไอพี (โมเดิร์นไนน์ทีวี) |
- | - | - | - |
ครั้งที่ 25 (2553) | ณวัฒน์ อิสระไกรศีล อะเมซิ่งเมืองไทย (ช่อง 3) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | ฐปณีย์ เอียดศรีไชย (ช่อง 3) ผู้สื่อข่าวภาคสนามดีเด่น |
ทีมผู้บรรยายกีฬา รายการ มวยไทย 7 สี (ช่อง 7) | สุจิรา อรุณพิพัฒน์ ดวงพร ทรงวิศวะ กิน อยู่ คือ (ไทยพีบีเอส) |
- | - | - | - |
ครั้งที่ 26 (2554) | วูดดี้ วุฒิธร มิลินทจินดา วู้ดดี้เกิดมาคุย (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ผู้ดำเนินรายการ ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
อรอุมา เกษตรพืชผล สถานีประชาชน (ไทยพีบีเอส) ผู้ดำเนินรายการ ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
บัญชา ชุมชัยเวทย์ (ช่อง 3) ผู้สื่อข่าวดีเด่น |
- | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 27 (2555) | คริสโตเฟอร์ ไรท์ คริสเดลิเวอร์รี่ (ช่อง 5) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | กฤต เจนพานิชการ ตู้ ป.ณ.ข่าว 3 (ช่อง 3) ผู้สื่อข่าวดีเด่น |
วีรศักดิ์ นิลกลัด, อดิสรณ์ พึ่งยา เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 (ช่อง 7) |
สุริวิภา กุลตังวัฒนา บ๊อบบี้ โรเบิร์ต พูนพิพัฒน์ คู่เลิฟตะลอนทัวร์ (โมเดิร์นไนน์ทีวี) |
- | - | - | - |
ครั้งที่ 28 (2556) | กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์ แฟนพันธุ์แท้ (ช่อง 5) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | อนุวัต เฟื่องทองแดง (ช่อง 7) ผู้สื่อข่าวดีเด่น ณัฏฐา โกมลวาทิน ที่นี่ไทยพีบีเอส (ไทยพีบีเอส) ผู้ประกาศข่าวดีเด่น |
วีรศักดิ์ นิลกลัด (โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย) |
นำชัย จรรยาฐิติกุล ปราบ ยุทธพิชัย ปลดหนี้ (ช่อง 7) |
- | - | - | - |
ครั้งที่ 29 (2557) | จรงค์ศักดิ์ รองเดช ภัตตาคารบ้านทุ่ง (ไทยพีบีเอส) |
กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ เซย์ไฮ (ช่อง 3) |
กรุณา บัวคำศรี (ช่อง 3) ผู้สื่อข่าวดีเด่น กิตติมา ณ ถลาง (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ผู้ประกาศข่าวดีเด่น |
ไพโรจน์ กิ่งแก้ว (โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย) |
- | รายการคอลัมน์หมายเลข 7 (ช่อง 7) |
รายการเสน่ห์กีฬา (ช่อง 3) |
ทีมพากย์การ์ตูนเรื่อง ไอซ์เอจ 4 เจาะยุคน้ำแข็งมหัศจรรย์ กำเนิดแผ่นดินใหญ่ (ช่อง 7) |
ธนศักดิ์ อุ่นอ่อน เรื่อง ทะลุเวลาสู่ยุโรป (ช่อง 7) |
ครั้งที่ 30 (2558) | จตุรงค์ สุขเอียด (ช่อง 3) ผู้สื่อข่าวดีเด่น ศรีสุภางค์ ธรรมาวุธ (ช่อง 7) ผู้ประกาศข่าวดีเด่น |
สาธิต กรีกุล โยธิน อารีย์การเลิศ (ช่อง 3) |
- | รายการ Time line (เนชั่นทีวี) |
รายการ ศึกยอดฝีพายไทยรัฐ (ช่อง ไทยรัฐทีวี) |
ทีมพากย์ภาพยนตร์เกาหลีเรื่อง ลิขิตรัก ไฟริษยา (ช่อง 7) |
ปาริชาต พุกผาสุก เรื่อง Science of Saing ไขปริศนาพระคัมภีร์ นักบุญ (ช่อง นิวทีวี) | ||
ครั้งที่ 31 (2559) | นิรุตติ์ ศิริจรรยา (ช่อง PPTV36) |
สายสวรรค์ ขยันยิ่ง (ช่อง 3Family) |
สมโภชน์ โตรักษา (ช่อง 7) ผู้สื่อข่าวดีเด่น |
อัฐชพงษ์ สีมา ธีรยุทธ บัญหนองสา (ช่อง True4you 24) |
- | รายการไพร์มไทม์ กับเทพชัย (เนชั่นทีวี) |
รายการเสน่ห์กีฬา (ช่อง 3) |
ทีมพากษ์การ์ตูนเรื่อง เซเลอร์มูน คริสตัล (ช่อง 9) |
สุกัญญา ไชยภาษี สารคดีอริยทัศน์อินเดีย (ช่องTNN24) |
ครั้งที่ 32 (2560) | นิติ ชัยชิตาทร ทอล์ก-กะ-เทย Tonight (ช่อง GMM 25) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | มนตรี อุดมพงษ์ (ช่อง 3) ผู้สื่อข่าวดีเด่น |
สาธิต กรีกุล (ช่อง 3) |
สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา นภาพร ไตรวิทย์วารีกุล ภูวนาถ คุณผลิน คลับฟรายเดย์โชว์ (ช่อง GMM 25) |
รายการไทยรัฐเจาะประเด็น (ไทยรัฐทีวี) |
รายการหัวใจนักสู้ (ช่อง True4u) |
นพวรรณ เหมะบุตร ชินจังจอมแก่น (ช่อง 3) |
สายสวรรค์ ขยันยิ่ง สารคดีจดหมายเหตุรัตนโกสินทร์ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 33 (2561) | สุวิกรม อัมระนันทน์ เปอร์สเปคทีฟ (ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
อโนชา ศิริจร ตามอำเภอจาน (อมรินทร์ทีวี) |
สถาพร ด่านขุนทด (ช่อง 3) ผู้สื่อข่าวดีเด่น |
วิภาพร วัฒน์วิทย์ (ไทยพีบีเอส) |
- | The Daily Dose (วอยซ์ทีวี) | ศึกเรือยาวชิงจ้าวสายน้ำ (ไทยพีบีเอส) | ทีมพากย์ซีรีส์ กังนัมบิวตี้ รักนี้ไม่มีปลอม (ช่อง 7HD) | สุภาณี คชพันธ์สมโภชน์ สารคดีลักษณะไทย (ไทยรัฐทีวี) |
ครั้งที่ 34 (2562) | กรรชัย กำเนิดพลอย โหนกระแส (ช่อง 3) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | - | - | - | รอบโลก by กรุณา บัวคำศรี (ช่อง พีพีทีวี) | สปอร์ตกูรู (ช่อง 3) รายการกีฬาดีเด่น |
- | - |
ครั้งที่ 35 (2563) | จอห์น รัตนเวโรจน์ The Lighthouse Family (ช่อง พีพีทีวี) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | - | - | - | สนามข่าว 7 สี (ช่อง 7HD) | เส้นทางกีฬา (ช่อง เอ็นบีที) รายการกีฬาดีเด่น |
- | - |
ครั้งที่ 36 (2564) | สุวิกรม อัมระนันทน์ เปอร์สเปคทีฟ (ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | - | - | - | เข้มข่าวค่ำ (ช่อง พีพีทีวี) | Sunday Inspiration Sports (ช่อง ไทยพีบีเอส) รายการกีฬาดีเด่น |
- | - |
ครั้งที่ 37 (2565) | กิตติ เชี่ยววงศ์กุล รู้ไหมใครโสด (ช่องวัน 31) พิธีกร ประเภทเดี่ยวดีเด่น |
- | - | - | - | TNN ข่าวค่ำ (ช่อง ทีเอ็นเอ็น 16) | Thai PBS Girls Volleyball Super Series 2022 (ช่อง ไทยพีบีเอส) รายการกีฬาดีเด่น |
- | - |
รางวัลรายการส่งเสริมความรู้ ศิลปวัฒนธรรม สตรี และ ครอบครัวดีเด่น
แก้ครั้ง (ปี) ที่จัด | รางวัลรายการส่งเสริมความรู้ทั่วไปดีเด่น ประเภทรายการสั้น | รางวัลรายการส่งเสริมความรู้ทั่วไปดีเด่น | รางวัลรายการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมดีเด่น ประเภทรายการสั้น | รางวัลรายการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมดีเด่น | รางวัลรายการสารคดีเทิดพระเกียรติดีเด่น | รางวัลรายการสตรีดีเด่น | รางวัลรายการครอบครัวดีเด่น | รางวัลนวัตกรรมสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่น |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ครั้งที่ 24 (2552) | ภาษาศิลป์ (ทีวีไทย) | พันแสงรุ้ง (ทีวีไทย) | ถ้อยธรรม พระราชดำรัส (ช่อง 7) | เสด็จประพาสต้น (ทีวีไทย) | - | - | - | - |
ครั้งที่ 25 (2553) | - | ธิราชเจ้าจอมสยาม (ไทยพีบีเอส) | - | พินิจนคร (ไทยพีบีเอส) | ฟ้าห่มดิน (ช่อง 5) | - | - | - |
ครั้งที่ 26 (2554) | - | วิทยสัประยุทธ์ (ช่อง 5) | เด็กสืบโขน (ช่อง 7) | พื้นที่ชีวิต (ไทยพีบีเอส) | ประเทศไทยโชคดีที่มีในหลวง (โมเดิร์นไนน์ทีวี และ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย) |
- | - | - |
ครั้งที่ 27 (2555) | ย้อนสยามผ่านฟิล์มจิ๋ว (ไทยพีบีเอส) | ทุ่งแสงตะวัน (ช่อง 3) | - | - | - | - | - | - |
ครั้งที่ 28 (2556) | หอมแผ่นดิน (โมเดิร์นไนน์ทีวี) | วัฒนธรรมชุบแป้งทอด (ไทยพีบีเอส) | - | คนไทยขั้นเทพ (โมเดิร์นไนน์ทีวี) | - | - | - | - |
ครั้งที่ 29 (2557) | - | - | กระจกหกด้าน (ช่อง 7) | - | ฟ้าห่มดิน (ช่อง 5) | ภัตตาคารบ้านทุ่ง (ไทยพีบีเอส) | ลุยไม่รู้โรย (ไทยพีบีเอส) | - |
ครั้งที่ 30 (2558) | - | สารคดีชุด ช้างไทย (ช่อง 7) | เรื่องนี้มีอยู่ว่า (ช่อง ทีเอ็นเอ็น 24) | สืบสายใย ผ้าไทยอาเซียน (โมเดิร์นไนน์ทีวี) | สายธารพระการุณย์ (มูลนิธิสมสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์) |
Mom Club (เอ็มคอท แฟมิลี่ ช่อง 14) | The Family Business (ช่อง 5) | - |
ครั้งที่ 31 (2559) | - | รายการเปอร์สเปคทีฟ (ช่อง โมเดิร์นไนน์ทีวี) | - | รายการอริยทัศน์อินเดีย (ช่อง TNN24) | รายการแผ่นดินวัยเยาว์ (ช่อง TNN24) |
- | - | |
ครั้งที่ 32 (2560) | - | รายการโยเดียที่คิด(ไม่)ถึง (ช่อง ไทยพีบีเอส) |
- | รายการเรื่องจริงยิ่งต้องเล่า Fact Fiction (ช่อง Spring News) |
- | - | - | |
ครั้งที่ 33 (2561) | - | รายการพื้นที่ชีวิต (ช่อง ไทยพีบีเอส) |
- | รายการคุณพระช่วย (ช่องเวิร์คพอยท์ทีวี) |
- | - | - | - |
ครั้งที่ 34 (2562) | - | ซูเปอร์เท็น (ช่องเวิร์คพอยท์ทีวี) รางวัลรายการเยาวชนดีเด่น |
- | รายการคุณพระช่วย (ช่องเวิร์คพอยท์ทีวี) |
- | - | - | - |
ครั้งที่ 35 (2563) | - | เก่งจริงชิงค่าเทอม (ช่องวัน 31) รางวัลรายการเยาวชนดีเด่น |
- | Tasty Journey วัฒนธรรมยั่วน้ำลาย ซีซั่น 2 (ช่องพีพีทีวี) |
- | - | - | The Lighthouse Family (ช่องพีพีทีวี) |
ครั้งที่ 36 (2564) | - | เก่งจริงชิงค่าเทอม (ช่องวัน 31) รางวัลรายการส่งเสริมเยาวชนดีเด่น |
- | - | จากรากสู่เรา (ช่อง ไทยพีบีเอส) |
- | - | The Next คลื่นอนาคต (ช่อง ไทยพีบีเอส) |
ครั้งที่ 37 (2565) | - | Win Win WAR Thailand OTOP Junior (ช่องอมรินทร์ทีวี 34) รางวัลรายการส่งเสริมเยาวชนดีเด่น |
- | ลักษณะไทย (ช่อง ไทยรัฐทีวี) | - | - | - | ละครเรื่อง จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี (ช่อง ไทยพีบีเอส) |
รางวัลรายการเกมโชว์ และ ปกิณกะดีเด่น
แก้ครั้ง (ปี) ที่จัด | รางวัลเกมโชว์ดีเด่น | รางวัลรายการปกิณกะดีเด่น |
---|---|---|
ครั้งที่ 24 (2552) | หลานปู่กู้อีจู้ (ช่อง 7) | ไทยโชว์ (ไทยพีบีเอส) |
ครั้งที่ 25 (2553) | ยกสยาม (สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์) | ฉันรักเมืองไทย (รายการโทรทัศน์) (โมเดิร์นไนน์ทีวี) |
ครั้งที่ 26 (2554) | ราชรถมาเกย (สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์) | - |
ครั้งที่ 27 (2555) | 5 มหานิยม (ช่อง 5) | พราว (โมเดิร์นไนน์ทีวี) |
ครั้งที่ 28 (2556) | Sci Fighting วิทย์สู้วิทย์ (โมเดิร์นไนน์ทีวี) | กลมกิ๊ก (ช่อง 5) |
ครั้งที่ 29 (2557) | เกมพันหน้า เอื้ออาทร (ช่อง 7) | บางอ้อ (สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์) |
ครั้งที่ 30 (2558) | ปริศนาฟ้าแลบ (ช่อง เวิร์คพอยท์ ทีวี) | ล่า (สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี) |
ครั้งที่ 31 (2559) | กิ๊กดู๋ สงครามเพลงเงินล้าน (ช่อง 7) | แกะกล้า (สถานีโทรทัศน์อมรินทร์ทีวี 34) |
ครั้งที่ 32 (2560) | Davinci เกมถอดรหัส (ช่อง 3) | คาราวานสำราญใจ (ช่อง 3) |
ครั้งที่ 33 (2561) | Win Win War Thailand สุดยอดนักธุรกิจแบ่งปัน (ช่อง อมรินทร์ทีวี) | ภัตตาคารบ้านทุ่ง (ไทยพีบีเอส) |
ครั้งที่ 34 (2562) | กล่องของขวัญ (ช่องเวิร์คพอยท์ทีวี) | |
ครั้งที่ 35 (2563) | ร้องข้ามกำแพง (ช่องเวิร์คพอยท์ทีวี) | - |
ครั้งที่ 36 (2564) | รู้ไหมใครโสด (ช่องวัน 31) | - |
ครั้งที่ 37 (2565) | SUPER100 อัจฉริยะเกินร้อย (ช่องเวิร์คพอยท์ทีวี) | คุณพระช่วย (ช่องเวิร์คพอยท์ทีวี) |
รางวัลประเภทสถานีดีเด่น
แก้ครั้ง (ปี) ที่จัด | ด้านรายการข่าว และสถานการณ์ปัจจุบัน |
ด้านรายการกีฬา | ด้านรายการเด็ก สตรีและครอบครัว |
ด้านรายการส่งเสริมความรู้ และศิลปวัฒนธรรม |
ด้านปกิณกะ | |
---|---|---|---|---|---|---|
ครั้งที่ 1 (2529) | ช่อง 9 | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 2 (2530) | ช่อง 3 | ช่อง 7 | - | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 3 (2531) | ช่อง 9 | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 4 (2532) | ช่อง 5 | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 5 (2533) | ช่อง 7 | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 6 (2534) | ช่อง 7 | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 7 (2535) | ช่อง 11 | ช่อง 9 | ช่อง 5 | ช่อง 11 | ||
ครั้งที่ 8 (2536) | ช่อง 9 | ช่อง 7 | ช่อง 3 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 9 (2537) | ช่อง 7 | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 10 (2538) | ช่อง 9 | ช่อง 7 | ช่อง 9 | - | ช่อง 3 | |
ครั้งที่ 12 (2540) | ไอทีวี | ช่อง 11 | ช่อง 9 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 13 (2541) | ไอทีวี | ช่อง 9 | ช่อง 9 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 14 (2542) | ช่อง 5 | ไอทีวี | ช่อง 5 | ช่อง 11 | ||
ครั้งที่ 15 (2543) | - | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ช่อง 9 | ||
ครั้งที่ 16 (2544) | - | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 17 (2545) | ไอทีวี | ช่อง 11 | ช่อง 5 | ช่อง 9 | ||
ครั้งที่ 18 (2546) | ช่อง 9 | ช่อง 11 | ช่อง 5 | ช่อง 11 | ||
ครั้งที่ 19 (2547) | ไอทีวี | ช่อง 3 | ช่อง 7 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 20 (2548) | ไอทีวี | ช่อง 11 | ช่อง 5 | - | ||
ครั้งที่ 21 (2549) | ไอทีวี | ช่อง 3 | ช่อง 7 | ช่อง 9 | ||
ครั้งที่ 22 (2550) | ช่อง 9 | ช่อง 7 | - | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 23 (2551) | ช่อง 9 | ช่อง 7 | ช่อง 3 | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 24 (2552) | ช่อง 9 | ช่อง 7 | ช่อง 3 | - | ||
ครั้งที่ 25 (2553) | ช่อง 9 | ช่อง 7 | ไทยพีบีเอส | ไทยพีบีเอส | ||
ครั้งที่ 26 (2554) | ช่อง 3 | ช่อง 7 | ไทยพีบีเอส | - | ||
ครั้งที่ 27 (2555) | ช่อง 3 | ช่อง 7 | ไทยพีบีเอส | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 28 (2556) | ช่อง 3 | ช่อง 7 | ไทยพีบีเอส | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 29 (2557) | ช่อง 7 | ช่อง 7 | ไทยพีบีเอส | ช่อง 5 | ||
ครั้งที่ 30 (2558) | ทีเอ็นเอ็น 24 | ช่อง 3 | ไทยพีบีเอส | - | ||
ครั้งที่ 31 (2559) | ไทยรัฐทีวี | ช่อง 7 | ช่อง 3 | ช่อง 11 | ช่องเวิร์คพอยท์ | |
ครั้งที่ 32 (2560) | Spring News | ไทยรัฐทีวี | ไทยพีบีเอส | ไทยพีบีเอส | ||
ครั้งที่ 33 (2561) | ไทยพีบีเอส | ช่อง 7 | ไทยพีบีเอส | ไทยพีบีเอส |
รางวัลประเภทเพลงและมิวสิกวิดีโอดีเด่น
แก้ครั้ง (ปี) ที่จัด | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ |
---|---|---|
ครั้งที่ 1 (2529) | กล้วยไข่-เฉลียง สมปองน้องสมชาย-เรวัต พุทธินันทน์ |
เจ้าตาก-คาราบาว รักล้นใจ-ปั่น เอ็กซเรย์-กะท้อน |
ครั้งที่ 2 (2530) | เร่ขายฝัน-เฉลียง กำกับโดย ประภาส ชลศรานนท์ |
ธรรมดา..มันเป็นเรื่องธรรมดา-เพชร โอสถานุเคราะห์ อย่าลืมน้องสาว-นกแล |
ครั้งที่ 3 (2531) | เก็บตะวัน-อิทธิ พลางกูร กำกับโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว |
เทวดาเดินดิน-แจ้ ทับหลัง-คาราบาว |
ครั้งที่ 4 (2532) | ลูกผู้ชาย-ฉัตรชัย เปล่งพานิช กำกับโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว |
จริงใจไว้ก่อน-ใหม่ เจริญปุระ ใจเย็นน้องชาย-เฉลียง เก่า..ก็ยังถูกใจ-ชรัส เฟื่องอารมย์ |
ครั้งที่ 5 (2533) | ต้นไม้-สุรสีห์ อิทธิกุล | กระจกร้าว-ไฮร็อก เจ้าภาพจงเจริญ-สามโทน |
ครั้งที่ 6 (2534) | สี่แยกในดวงใจ-สามโทน ไวกว่าแสง-หรั่ง ร็อกเคสตร้า เปล่าหรอกนะ-คริสติน่า |
- |
ครั้งที่ 7 (2535) | ร็อกกระทบไม้-ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ ไกล-สุรสีห์ อิทธิกุล โรงเรียนของหนู-พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ |
- |
ครั้งที่ 8 (2536) | ความรัก-ออโต้บาห์น ห่วงใย-ตาวัน สัญญาหน้าไฟ-สามโทน |
- |
ครั้งที่ 9 (2537) | เราทำทั้งหมด-ทีโบน รักเธอที่สุด-คริสติน่า สวัสดีแร็พโย่-บิลลี่ โอแกน |
- |
ครั้งที่ 19 (2547) | เข้าใจแล้วครับพ่อ - ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว | - |
ครั้งที่ 20 (2548) | ยินดีปีระกา - ลานนา คัมมินส์ | - |
ครั้งที่ 21 (2549) | กิเลสและตัณหา โดย เลิฟอีส | - |
ครั้งที่ 22 (2550) | ผู้หญิงวนซ้าย ผู้ชายวนขวา - พัชริดา วัฒนา | - |
ครั้งที่ 23 (2551) | เสียงหัวใจวันไร้เธอ - ธนพร แวกประยูร กำกับโดย เอกสิทธิ์ ตระกูลเกษมสุข |
- |
ครั้ง (ปี) ที่จัด | รางวัลมิวสิกวิดีโอเพลงไทยสากลดีเด่น | รางวัลมิวสิกวิดีโอเพลงไทยลูกทุ่งดีเด่น |
---|---|---|
ครั้งที่ 24 (2552) | เพลงฮัก (HUG) -สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว เอ็กแซ็กท์ ผู้กำกับ: ณัฐพล มุขขันธ์ |
เพลงอีสานลำเพลิน-ต่าย อรทัย แกรมมี่โกลด์ ผู้กำกับ: ตั้งจิตร บุญพานิชย์แสงดี (โก โปรดักชั่น) |
ครั้งที่ 25 (2553) | น้ำตาคั่งในสมอง-วรเวช ดานุวงศ์ feat. เวย์ ไทยเทเนี่ยม โซนี่ มิวสิก ผู้กำกับ: วรเวช ดานุวงศ์ |
เพลงมือใด๋สิคึดฮอด-ต่าย อรทัย แกรมมี่โกลด์ ผู้กำกับ: ตั้งจิตร บุญพานิชย์แสงดี (โก โปรดักชั่น) |
ครั้งที่ 26 (2554) | เพลงยิ่งลึกซึ้งยิ่งหวั่นไหว -นิว-จิ๋ว จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ผู้กำกับ: เอกสิทธิ์ ตระกูลเกษมสุข |
- |
ครั้งที่ 27 (2555) | เพลงพรุ่งนี้ไม่มีจริง -ธนพร แวกประยูร อาร์เอส ผู้กำกับ: เอกสิทธิ์ ตระกูลเกษมสุข |
- |
ครั้งที่ 28 (2556) | เพลงแชร์ความเหงา -เนย ซินญอริต้า เยส มิวสิก ผู้กำกับ: เอกสิทธิ์ ตระกูลเกษมสุข |
- |
ครั้งที่ 29 (2557) | เพลงฝากไว้ -วิโอเลต วอเทียร์ Ost.ฝากไว้ในกายเธอ ค่าย GTH ผู้กำกับ: ณฐพล บุญประกอบ |
- |
ครั้งที่ 30 (2558) | เพลงรู้สึกดี -ว่าน ธนกฤต Feat. จั๊ก ชวิน สไปซีดิสก์ | - |
ครั้งที่ 31 (2559) | เพลงคนไม่จำเป็น - Getsunova ไวท์มิวสิก (GMM) ผู้กำกับ: ประพัฒน์ คูศิริวานิชกร |
- |
รางวัลเกียรติยศคนทีวี
แก้- ครั้งที่ 19 ประจำปี พ.ศ. 2547
- กำธร สุวรรณปิยะศิริ นักแสดง, นักพากย์
- จรัล เพ็ชรเจริญ (สีเทา) นักแสดงตลก
- อารีย์ นักดนตรี นักแสดง, นักพากย์, ผู้ประกาศรายการ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 ของบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด[2]
- ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2548
- พิชัย วาสนาส่ง นักจัดรายการโทรทัศน์ยุคแรก
- มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา ศิลปินแห่งชาติ, นักแสดง
- สินีนาฏ โพธิเวส นักแสดง, ผู้จัดละคร[3]
- ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2549
- ถาวร สุวรรณ อดีตหัวหน้าฝ่ายข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ยุคก่อตั้ง, ผู้กำกับละคร
- บรรเจิดศรี ยมาภัย นักแสดง
- อดุลย์ ดุลยรัตน์ นักแสดง, ผู้กำกับละคร[4]
- ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2550
- อุฬาร เนื่องจำนงค์
- สอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ นักแสดง, นักพากย์, ผู้เขียนบทโทรทัศน์, ผู้กำกับละคร
- อาคม มกรานนท์ ผู้ประกาศข่าว, พิธีกรรายการโทรทัศน์, นักแสดง
- เมตตา รุ่งรัตน์ นักแสดง
- สุประวัติ ปัทมสูต นักแสดง, ผู้กำกับละคร[5]
- ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2551
- อุดม จะโนภาษ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
- นันทวัน สุวรรณปิยะศิริ นักแสดง
- ดำรง พุฒตาล พิธีกร, นักจัดรายการโทรทัศน์[6]
- ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2552
- ไพรัช สังวริบุตร ศิลปินแห่งชาติ, ผู้บุกเบิกละครพื้นบ้านทางโทรทัศน์, ประธานกลุ่มบริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด
- บุญชาย ศิริโภคทรัพย์ ผู้กำกับรายการ, ผู้กำกับละคร, ผู้จัดรายการ โลกดนตรี, ผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ทีวีไทย
- นิรุตติ์ ศิริจรรยา นักแสดง[7]
- ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2553
- หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ ศิลปินแห่งชาติ, นักจัดรายการโทรทัศน์
- พิศมัย วิไลศักดิ์ ศิลปินแห่งชาติ, นักแสดง
- พันเอกนเรศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายเทคนิคการถ่ายทอดสดกีฬา
- ดวงดาว จารุจินดา นักแสดง, นักพากย์
- รอง เค้ามูลคดี นักแสดง, นักพากย์
- ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2554
- พลตรีประพาศ ศกุนตนาค อดีตผู้ประกาศข่าว ททบ.5/ช่อง 7 สี, ผู้บรรยายพระราชพิธี/พิธีสำคัญเกี่ยวกับกองทัพไทย
- วิเชียร พรหมจรรย์ อดีตผู้กำกับรายการ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 ของบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด
- ภัทรจารีย์ อัยศิริ นักสร้างสรรค์ นักจัดรายการโทรทัศน์สำหรับเด็ก สโมสรผึ้งน้อย[8]
- ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2555
- ฉลอง ภักดีวิจิตร ศิลปินแห่งชาติ, ผู้จัดละคร, ผู้กำกับละคร
- เศรษฐา ศิระฉายา ศิลปินแห่งชาติ, นักแสดง, พิธีกร
- สมสุข กัลย์จาฤก ศิลปินแห่งชาติ, ประธานกิตติมศักดิ์ บริษัท กันตนากรุ๊ป, ผู้ก่อตั้งสถาบันกันตนา, ผู้จัดละคร, ผู้เขียนบทละคร
- ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2556
- ประชา เทพาหุดี ผู้ประกาศข่าวกีฬา และผู้บรรยายกีฬา
- ศิริพร วงศ์สวัสดิ์ นักแสดง, นักพากย์, พิธีกร
- กรรณิกา ธรรมเกษร ผู้ประกาศข่าว[9]
- ครั้งที่ 29 ประจำปี พ.ศ. 2557
- สุชาดี มณีวงศ์ เจ้าของเสียงพากษ์ที่เป็นเอกลักษณ์ และ เจ้าของรายการคุณภาพ กระจกหกด้าน
- พิศณุ นิลกลัด ผู้ประกาศข่าว ผู้บรรยายกีฬา และ กูรูกอล์ฟแถวหน้าของเมืองไทย
- ถกลเกียรติ วีรวรรณ นักสร้าง นักปั้น ผลงานคุณภาพสู่วงการบันเทิง
- ครั้งที่ 30 ประจำปี พ.ศ. 2558
- กนกวรรณ ด่านอุดม อดีตนักแสดงไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม
- โฉมฉาย ฉัตรวิไล นักแสดงอาวุโส
- ประภาส ชลศรานนท์ นักคิด นักเขียน นักแต่งเพลง
- ครั้งที่ 31 ประจำปี พ.ศ. 2559
- นฤพนธ์ ดุริยพันธ์ อดีตนักแสดงไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม
- น้ำเงิน บุญหนัก นักแสดงอาวุโส
- สุเชาว์ พงษ์วิไล นักแสดงอาวุโส
- หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ ผู้กำกับละครเวที
- ครั้งที่ 32 ประจำปี พ.ศ. 2560
- จินตนา จุลกะเสวี อดีตผู้ควบคุมกองเซ็นเซอร์เก่าทีวีไทย
- วิทวัจน์ สุนทรวิเนตร พิธีกรรายการโทรทัศน์
- ไตรภพ ลิมปพัทธ์ พิธีกรรายการโทรทัศน์,ประธานบริษัท บริษัท บอร์น แอนด์ แอสโซซิเอทด์ จำกัด
- ปัญญา นิรันดร์กุล พิธีกรรายการโทรทัศน์,นักแสดง,ประธานบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน)
- ครั้งที่ 33 ประจำปี พ.ศ. 2561
- ศัลยา สุขะนิวัตติ์ ผู้เขียนบทโทรทัศน์ชั้นครู
- นิรมล เมธีสุวกุล พิธีกรและผู้ผลิตสารคดีหัวใจสีเขียว
- พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ผู้กำกับมือทอง
- ครั้งที่ 34 ประจำปี พ.ศ. 2562
- สุรางค์ เปรมปรีดิ์ อดีตผู้บริหารช่อง 7 เอชดี
- ประวิทย์ มาลีนนท์ อดีตกรรมการผู้จัดการ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
- ชูศักดิ์ สุธีรธรรม นักแสดง ผู้กำกับละคร
- มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช นักแสดง ผู้จัดละคร
- ครั้งที่ 35 ประจำปี พ.ศ. 2563
- ยุทธนา ลอพันธุ์ไพบูลย์ ผู้กำกับละคร
- นพพล โกมารชุน นักแสดง ผู้กำกับละคร ผู้จัดละคร
- ดวงตา ตุงคะมณี นักแสดง พิธีกร
- พลากร สมสุวรรณ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี
- ครั้งที่ 36 ประจำปี พ.ศ. 2564
- ยุวดี ไทยหิรัญ นักแสดง ผู้จัดละคร
- วรายุฑ มิลินทจินดา นักแสดง ผู้จัดละคร
- อรุโณชา ภาณุพันธุ์ ผู้จัดละคร
- ครั้งที่ 37 ประจำปี พ.ศ. 2565
- สุทธิชัย หยุ่น นักหนังสือพิมพ์ นักธุรกิจ พิธีกร
- วินัย ปฐมบูรณ์ ผู้จัดละคร ผู้กำกับภาพยนตร์
- ณัฐนี สิทธิสมาน นักแสดง
- จินตหรา สุขพัฒน์ นักแสดง
เพลงประจำงาน
แก้เพลงประจำงานโทรทัศน์ทองคำที่ใช้กันมาตั้งแต่แรกจนถึงปัจจุบัน มีชื่อเพลงว่า "คนทีวี" ซึ่งแต่งคำร้อง/ทำนอง และดนตรีโดย คุณพีรสันติ จวบสมัย แห่งวงดิ อินโนเซ้นท์ ขับร้องต้นฉบับโดย คุณแคทริน ถ้ำแก้ว [10][ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้]
อ้างอิง
แก้- ↑ นครกล่าวรายงานทีวี 1 (คำกล่าวรายงานของ นคร วีระประวัติ ประธานการจัดงานครั้งที่ 1) ที่ยูทูบ
- ↑ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 19
- ↑ "รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 20". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-20. สืบค้นเมื่อ 2010-03-21.
- ↑ "รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 21". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-04-03. สืบค้นเมื่อ 2010-03-21.
- ↑ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 22[ลิงก์เสีย]
- ↑ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 23
- ↑ "รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 24". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-09. สืบค้นเมื่อ 2010-03-21.
- ↑ "รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 26". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-13. สืบค้นเมื่อ 2012-02-12.
- ↑ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 28
- ↑ จากสูจิบัตรงานโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 4 ปี 2532
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ที่เฟซบุ๊ก
- ผลรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 1-4
- ผลรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 1-9 เก็บถาวร 2013-11-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ผลรางวัลครั้งที่ 20
- ผลรางวัลครั้งที่ 23
- ผลรางวัลโทรทัศน์ทองคำ แบบสรุป
- รายชื่อผู้เข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 24 ประจำปี 2552 เก็บถาวร 2010-03-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน