สถานีย่อย:เคมี

แก้ไข   

สถานีย่อยเคมี

Tube2portailchimie.jpg

เคมี คือ ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสสาร ความสามารถของสสาร การแปรรูปของสสาร และการปฏิสัมพันธ์กับพลังงานและสสารด้วยกันเอง เนื่องจากความหลากหลายของสสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของอะตอม นักเคมีจึงมักศึกษาโครงสร้าง คุณสมบัติ และการจัดเรียงอะตอมเพื่อรวมตัวกันเป็นโมเลกุล เช่น แก๊ส โลหะ หรือผลึกคริสตัล เคมีปัจจุบันได้ระบุว่าโครงสร้างของสสารในระดับอะตอมนั้นถือเป็นตัวกำหนดธรรมชาติของสสารทุกชนิด


บทความยอดเยี่ยม | ภาพยอดเยี่ยม | รู้ไหมว่า... | หัวข้อที่สำคัญ
หมวดหมู่ | ตารางธาตุ | เคมีในโครงการวิกิมีเดียอื่น ๆ | สถานีย่อยอื่น ๆ
แก้ไข   

บทความยอดเยี่ยม

เอ็นจีซี 604 เป็นบริเวณขนาดใหญ่ที่ประกอบไปด้วยไฮโดรเจนที่แตกตัวเป็นไอออนแล้ว

ไฮโดรเจน (อังกฤษ: Hydrogen) เป็นธาตุเคมีที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 1 สัญลักษณ์ธาตุคือ H มีมวลอะตอมเฉลี่ย 1.00794 u (1.007825 u สำหรับไฮโดรเจน-1) ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุดและพบมากที่สุดในเอกภพ ซึ่งคิดเป็นมวลธาตุเคมีประมาณร้อยละ 75 ของเอกภพ ดาวฤกษ์ในลำดับหลักส่วนใหญ่ประกอบด้วยไฮโดรเจนในสถานะพลาสมา ธาตุไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหาได้ค่อนข้างยากบนโลก ไอโซโทปที่พบมากที่สุดของไฮโดรเจน คือ โปรเทียม (ชื่อพบใช้น้อย สัญลักษณ์ 1H) ซึ่งมีโปรตอนหนึ่งตัวแต่ไม่มีนิวตรอน อ่านต่อ...


บทความยอดเยี่ยมก่อนหน้านี้: อิเล็กโตรเนกาทิวิตี - ออกซิเจน - น้ำ
ที่เก็บถาวร
แก้ไข   

ภาพยอดเยี่ยม

Vanadium crystal bar and 1cm3 cube.jpg
วาเนเดียมบริสุทธิ์จำนวน 3 แท่ง ซึ่งผ่านการออกซิเดชันมาแล้ว และลูกบาศก์ที่มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตรเพื่อการเปรียบเทียบ
ที่เก็บถาวร
แก้ไข   

หัวข้อที่สำคัญ

ทั่วไป
ประวัติของเคมี | นักเคมี | สารเคมี | ธาตุเคมี | ตารางธาตุ | โมเลกุล | อะตอม | ของแข็ง | ของเหลว | แก๊ส | พลาสมา | ปฏิกิริยาเคมี
ธาตุเคมี
โลหะแอลคาไล | โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท | แลนทาไนด์ | แอกทิไนด์ | โลหะทรานซิชัน | โลหะหลังทรานซิชั่น | ธาตุกึ่งโลหะ | อโลหะ | แฮโลเจน | ก๊าซมีตระกูล
สาขาวิชาเคมี
เคมีวิเคราะห์ | อินทรีย์เคมี | อนินทรีย์เคมี | เคมีฟิสิกส์ | เคมีพอลิเมอร์ | ชีวเคมี | วัสดุศาสตร์ | เคมีสิ่งแวดล้อม | เคมีเวชภัณฑ์ | เภสัชกรรม | เคมีความร้อน | เคมีไฟฟ้า | เคมีนิวเคลียร์ | เคมีการคำนวณ | เคมีแสง | เภสัชวิทยา
แก้ไข   

รู้ไหมว่า...

มารี กูรี
ที่เก็บถาวร
แก้ไข   

หมวดหมู่

แก้ไข   

ตารางธาตุ

หมู่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท นิกโท­เจน แคล­โค­เจน แฮโล­เจน แก๊สมีตระกูล
คาบ

1

ไฮโดร­เจน
1
ฮี­เลียม
2
2
ลิ­เทียม
3
เบริล­เลียม
4
โบรอน
5
คาร์บอน
6
ไนโตร­เจน
7
ออกซิ­เจน
8
ฟลูออ­รีน
9
นีออน
10
3
โซ­เดียม
11
แมกนี­เซียม
12
อะลูมิ­เนียม
13
ซิลิ­กอน
14
ฟอส­ฟอรัส
15
กำมะถัน
16
คลอ­รีน
17
อาร์กอน
18
4
โพแทส­เซียม
19
แคล­เซียม
20
สแกน­เดียม
21
ไทเท­เนียม
22
วาเน­เดียม
23
โคร­เมียม
24
แมงกา­นีส
25
เหล็ก
26
โคบอลต์
27
นิกเกิล
28
ทองแดง
29
สังกะสี
30
แกลเลียม
31
เจอร์เม­เนียม
32
สารหนู
33
ซีลี­เนียม
34
โบรมีน
35
คริป­ทอน
36
5
รูบิ­เดียม
37
สตรอน­เซียม
38
อิตเทรียม
39
เซอร์โค­เนียม
40
ไนโอ­เบียม
41
โมลิบ­ดีนัม
42
เทค­นีเชียม
43
รูที­เนียม
44
โร­เดียม
45
แพลเล­เดียม
46
เงิน
47
แคด­เมียม
48
อินเดียม
49
ดีบุก
50
พลวง
51
เทลลู­เรียม
52
ไอโอดีน
53
ซีนอน
54
6
ซี­เซียม
55
แบเรียม
56
แลน­ทานัม
57
1 asterisk
แฮฟ­เนียม
72
แทนทา­ลัม
73
ทัง­สเตน
74
รี­เนียม
75
ออส­เมียม
76
อิริเดียม
77
แพลต­ทินัม
78
ทองคำ
79
ปรอท
80
แทลเลียม
81
ตะกั่ว
82
บิส­มัท
83
พอโล­เนียม
84
แอสทา­ทีน
85
เรดอน
86
7
แฟรน­เซียม
87
เร­เดียม
88
แอกทิ­เนียม
89
2 asterisks
รัทเทอร์­ฟอร์เดียม
104
ดุบ­เนียม
105
ซี­บอร์เกียม
106
โบห์­เรียม
107
ฮัส­เซียม
108
ไมต์­เนเรียม
109
ดาร์ม­สตัดเทียม
110
เรินต์­เกเนียม
111
โคเปอร์­นิเซียม
112
นิโฮ­เนียม
113
ฟลีโร­เวียม
114
มอสโก­เวียม
115
ลิเวอร์­มอเรียม
116
เทนเนส­ซีน
117
โอกา­เนสซอน
118
1 asterisk
ซีเรียม
58
เพรซิโอ­ดีเมียม
59
นีโอ­ดีเมียม
60
โพรมี­เทียม
61
ซาแม­เรียม
62
ยูโร­เพียม
63
แกโดลิ­เนียม
64
เทอร์­เบียม
65
ดิสโพร­เซียม
66
โฮล­เมียม
67
เออร์เบียม
68
ทูเลียม
69
อิตเทอร์­เบียม
70
ลูที­เชียม
71
 
2 asterisks
ทอ­เรียม
90
โพรแทก­ทิเนียม
91
ยูเร­เนียม
92
เนปทู­เนียม
93
พลูโท­เนียม
94
อะเมริ­เซียม
95
คูเรียม
96
เบอร์คี­เลียม
97
แคลิฟอร์­เนียม
98
ไอน์สไต­เนียม
99
เฟอร์­เมียม
100
เมนเด­ลีเวียม
101
โนเบ­เลียม
102
ลอว์เรน­เชียม
103
 

สีดำ = ของแข็ง สีเขียว = ของเหลว สีแดง = แก๊ส สีเทา = ไม่ทราบสถานะ สีของเลขอะตอม แสดงถึงสถานะของสสาร (ที่ 0 °C และ 1 atm)
ดึกดำบรรพ์ การสลายตัว การสังเคราะห์ กรอบ แสดงการปรากฏในธรรมชาติ
สีพื้นหลัง แสดงถึงหมู่ของธาตุที่เกิดจากความเป็นโลหะ:
โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ ไม่มีกลุ่ม
ตามสมบัติ
ทางเคมี
โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท แลน­ทาไนด์ แอกทิไนด์ โลหะแทรนซิชัน โลหะ​หลังทรานซิชัน อโลหะหลายวาเลนซ์ อโลหะวาเลนซ์เดียว แก๊สมีตระกูล
แก้ไข   

เคมีในโครงการวิกิมีเดียอื่น ๆ

Wiktionary-logo-th.png วิกิพจนานุกรม
หาความหมาย
Wikiquote-logo.svg วิกิคำคม
คำคม
Wikibooks-logo.png วิกิตำรา
หนังสือ
Wikisource-logo.png วิกิซอร์ซ
ค้นแหล่งเอกสาร
Wikinews-logo.png วิกิข่าว
เนื้อหาข่าว
Commons-logo.svg คอมมอนส์
ภาพและสื่อ
แก้ไข   

สถานีย่อยอื่น ๆ