สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์
ยินดีต้อนรับ | ||||||||||
|
บทความที่คุณสุ่มได้
ทิเบต (Tibet) ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาติ อ่านต่อ...
รู้หรือไม่ที่คุณสุ่มได้
ปริศนาประวัติศาสตร์
หากคุณตอบคำถามของเราได้ทุกข้อ เราขอปรบมือให้ :
พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ใดทรงโปรดให้สร้างหอนาฬิกาแห่งแรกของประเทศไทยขึ้น และหอนาฬิกานั้นถูกสร้างก่อนหอนาฬิกาบิกเบนกี่ปี
เรือไททานิกจมลง ก่อน หรือ หลัง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก และ เหตุการณ์นั้นเกิด ก่อน หรือ หลัง ที่พระองค์เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก กี่ปี
ภาพที่คุณสุ่มได้
ภาพคนงานกำลังก่อสร้างกำแพงเบอร์ลินในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504 ในประเทศเยอรมนีตะวันออก
ดัชนีช่วยค้นหา
- การบุกครองโปแลนด์
- จักรพรรดินโปเลียนที่ 1
- ไดโนเสาร์
- ราชวงศ์ชิง
- สุสานจิ๋นซีฮ่องเต้
- สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี
- สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
คุณทำได้
นี่คือส่วนหนึ่งที่คุณทำได้
- บทความที่ต้องการ ประวัติศาสตร์กรีก ^ ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ ^ ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ ^ ประวัติศาสตร์แอฟริกา ^ ประวัติศาสตร์ออสเตรเลีย ^ ประวัติศาสตร์แอนตาร์กติกา ^ ประวัติศาสตร์อารก์ติก ^ แฝดสยาม อิน-จัน ^
- บทความที่ควรมี พญางำเมือง
- โครง กษัตริย์แห่งยูดาห์ การชุมนุมประท้วงที่จตุรัสเทียนอันเหมิน การปฏิวัติทางวัฒนธรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติอเมริกา มหาราช ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์ พระมหาเถรศรีศรัทธา พระองค์เจ้าขุนเณร ฯลฯ
- ในชีวิตจริง ร่วมอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ไทยไม่ให้คนรุ่นหลังลืม ช่วยกันรณรงค์ให้ทุกคนที่ไม่ชอบประวัติศาสตร์หันมาเปิดใจ
- หรือดูรายละเอียดที่ สารานุกรมประวัติศาสตร์
ตอบข้อสงสัย
- คำถาม : ประวัติศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกกันแน่ ?
- คำตอบ : คำว่า ประวัติศาสตร์ เป็นคำสมาสระหว่างคำว่า ประวัติ และคำว่า ศาสตร์ ตามกฎของคำสมาสแล้ว สระอิบนต.เต่า จะต้องออกเสียงด้วย ดังเห็นได้จากคำว่า เกียรติภูมิ อ่านว่า เกียด-ติ-พูม ไม่ใช่ เกียด-พูม คำว่า อุบัตเหตุ อ่านว่า อุ-บัด-ติ-เหด ไม่ใช่ อุ-บัด-เหด ฉันใดก็ฉันนั้น คำว่า ประวัติศาสตร์จึงควรอ่านว่า ประ-หวัด-ติ-สาด ตามหลักภาษาไทย แต่ต่อมาได้มีการอนุโลมให้อ่านว่า ประ-หวัด-สาด ได้
ในโอกาสต่อ ๆ ไป หากมีคำถามไหนน่าสนใจ จะถูกนำขึ้นมาแสดงไว้ ณ ที่นี้
วันนี้ในอดีต
- พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) – นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน มักซ์ พลังค์ (ในภาพ) นำเสนอทฤษฎีกฎการแผ่รังสีของวัตถุดำ โดยเสนอว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าปลดปล่อยออกมาเฉพาะในรูปควอนไตซ์
- พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911) – นักสำรวจชาวนอร์เวย์ โรอัลด์ อะมุนด์เซน และคณะอีก 4 คน เป็นบุคคลกลุ่มแรกซึ่งไปถึงขั้วโลกใต้
- พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) – ยูจีน เซอร์แนน นักบินอวกาศชาวอเมริกันบนยานอะพอลโล 17 เป็นบุคคลล่าสุดที่เดินบนดวงจันทร์
- พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) – เริ่มก่อสร้างเขื่อนสามผาที่แม่น้ำแยงซีในประเทศจีน
- พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) – ระหว่างการแถลงข่าวในกรุงแบกแดด นักหนังสือพิมพ์ชาวอิรัก มุนตาเซอร์ อัล-ไซดี ปารองเท้าใส่ประธานาธิบดีสหรัฐ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช
ดูเพิ่ม: 13 ธันวาคม – 14 ธันวาคม – 15 ธันวาคม
<< | ธันวาคม | >> | ||||
อา | จ | อ | พ | พฤ | ศ | ส |
1 | ||||||
2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 |
16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 |
23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 |
30 | 31 | |||||
พ.ศ. 2562 |
หมวดหมู่ | ||||||||||
|
โครงการวิกิมีเดียที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||||||||
|