สถานีย่อย:ฟิสิกส์

แก้ไข   

สถานีย่อยฟิสิกส์

ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสารและพลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และ เครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ ตัวอย่างเช่น การนำความรู้พื้นฐานทางด้าน แม่เหล็กไฟฟ้า ไปใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ) อย่างแพร่หลาย หรือ การนำความรู้ทาง อุณหพลศาสตร์ ไปใช้ในการพัฒนาเครื่องจักรกล และ ยานพาหนะ ยิ่งไปกว่านั้นความรู้ทางฟิสิกส์บางอย่างอาจนำไปสู่การสร้างเครื่องมือใหม่ที่ใช้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เช่น การนำความรู้เรื่อง กลศาสตร์ควอนตัม ไปใช้ในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ที่ใช้ใน ชีววิทยา เป็นต้น

นักฟิสิกส์ศึกษาธรรมชาติ ตั้งแต่สิ่งที่เล็กมาก เช่น อะตอม และ อนุภาคย่อย ไปจนถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มหาศาล เช่น จักรวาลจึงกล่าวได้ว่า ฟิสิกส์ คือ ปรัชญาธรรมชาติเลยทีเดียว


บทความยอดเยี่ยม | ภาพยอดเยี่ยม | รู้ไหมว่า...
หัวข้อที่สำคัญ | หมวดหมู่ | ฟิสิกส์ในโครงการวิกิมีเดียอื่น ๆ | สถานีย่อยอื่น ๆ
แก้ไข   

บทความยอดเยี่ยม

เส้นแรงแม่เหล็ก
เส้นแรงแม่เหล็ก

สนามแม่เหล็ก อาจเกิดขึ้นได้จากกระแสไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น สปินของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามอย่างหลังนี่เองเป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ

สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล อ่านต่อ...


บทความยอดเยี่ยมก่อนหน้านี้: ตัวต้านทาน - วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน - สตีเฟน ฮอว์คิง
ที่เก็บถาวร
แก้ไข   

ภาพยอดเยี่ยม

ภาพแสดงการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ของลูกบอล
ที่เก็บถาวร
แก้ไข   

หัวข้อที่สำคัญ

ทั่วไป ฟิสิกส์พื้นฐาน ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ของอะตอม โมเลกุล และแสง
ฟิสิกส์อนุภาค ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น ทฤษฎีหลักทางฟิสิกส์ ฟิสิกส์ประยุกต์
แก้ไข   

รู้ไหมว่า...

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
ที่เก็บถาวร
แก้ไข   

หมวดหมู่

แก้ไข   

ฟิสิกส์ในโครงการวิกิมีเดียอื่น ๆ

วิกิพจนานุกรม
หาความหมาย
วิกิคำคม
คำคม
วิกิตำรา
หนังสือ
วิกิซอร์ซ
ค้นแหล่งเอกสาร
วิกิข่าว
เนื้อหาข่าว
คอมมอนส์
ภาพและสื่อ
แก้ไข   

สถานีย่อยอื่น ๆ