กองทัพภาคที่ 4
กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายวชิราวุธ ตำบลปากพูน อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช และมีกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.) อยู่ที่ค่ายสิรินธร ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เพื่อดูแลความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยโดยเฉพาะ
กองทัพภาคที่ 4 | |
---|---|
![]() ตราประจำเหล่าทัพ | |
ผู้แต่งตั้ง | พระมหากษัตริย์ไทย |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | พลโท สัณห์ จิตรปฏิมา |
สถาปนา | 18 มกราคม พ.ศ. 2519 |
ส่วนภูมิภาคแก้ไข
- มณฑลทหารบกที่ 41 (มทบ.41) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายวชิราวุธ ตำบลปากพูน อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ดูแลพื้นที่ได้แก่
- จังหวัดนครศรีธรรมราช ยกเว้นอำเภอทุ่งสง
- จังหวัดภูเก็ต
- มณฑลทหารบกที่ 42 (มทบ.42) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายเสนาณรงค์ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ดูแลพื้นที่ได้แก่
- จังหวัดสงขลา
- จังหวัดพัทลุง
- จังหวัดสตูล
- มณฑลทหารบกที่ 43 (มทบ.43) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ดูแลพื้นที่ได้แก่
- อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- จังหวัดกระบี่
- จังหวัดตรัง
- มณฑลทหารบกที่ 44 (มทบ.44) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายเขตอุดมศักดิ์ ตำบลวังใหม่ อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ดูแลพื้นที่ได้แก่
- จังหวัดชุมพร
- จังหวัดระนอง
- มณฑลทหารบกที่ 45 (มทบ.45) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายวิภาวดีรังสิต อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ดูแลพื้นที่ได้แก่
- จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- จังหวัดพังงา
- มณฑลทหารบกที่ 46 (มทบ.46) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายอิงคยุทธบริหาร ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ดูแลพื้นที่ได้แก่
- จังหวัดปัตตานี
- จังหวัดนราธิวาส
- จังหวัดยะลา
ส่วนกำลังรบแก้ไข
- กองพลทหารราบที่ 5 (พล.ร.5) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- กรมทหารราบที่ 5
- กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 5 (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 5 (พ.อ.)
- กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 5 (พ.ท.)
- กรมทหารราบที่ 15
- กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 15 (พ.อ.)
- กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 15 ในสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 4 กรมทหารราบที่ 15 (พ.อ.)
- กรมทหารราบที่ 25
- กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 25 (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 25 (พ.อ.)
- กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 25 ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต (พ.ท.)
- กรมทหารปืนใหญ่ที่ 5
- กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 5 (พ.ท.)
- กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 15 (พ.ท.)
- กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 25 (พ.ท.)
- กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 105 (พ.ท.)
- กองพันทหารม้าที่ 16 (พ.ท.)
- กองพันทหารช่างที่ 5 (พ.ท.)
- กองพันทหารสื่อสารที่ 5 (พ.ท.)
- กองพันเสนารักษ์ที่ 5 (พ.ท.)
- กรมทหารราบที่ 5
- กองพลทหารราบที่ 15 (พล.ร.15) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายสมเด็จพระสุริโยทัย ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- กรมทหารราบที่ 151
- กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 151 (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 151 (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 151 (พ.ท.)
- กรมทหารราบที่ 152
- กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 152 (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 152 (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 152 (พ.ท.)
- กรมทหารราบที่ 153
- กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 153 (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 153 (พ.ท.)
- กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 153 (พ.ท.)
- กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15
- กองพันซ่อมบำรุง กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
- กองพันเสนารักษ์ กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
- กองพันส่งกำลังและบริการ กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
- กองพันทหารม้าที่ 31 (พ.ท.)
- กองพันทหารช่างที่ 15 (พ.ท.)
- กองพันทหารสื่อสารที่ 15 (พ.ท.)
- กรมทหารราบที่ 151
ส่วนสนับสนุนการรบแก้ไข
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (บชร.4) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- กองพันส่งกำลังและบริการที่ 24 (พ.อ.)
- กองพันซ่อมบำรุงที่ 24 (พ.อ.)
- กองพันสรรพาวุธกระสุนที่ 24 (พ.อ.)
- กองพันทหารขนส่งที่ 24 (พ.อ.)
- กองพลพัฒนาที่ 4 (พล.พัฒนา 4) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายรัตนพล 77 หมู่ที่ 3 ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
- กรมพัฒนาที่ 4
- กองพันพัฒนาที่ 4 (พ.ท.)
- กองพันทหารช่างที่ 401 (พ.ท.)
- กองพันทหารช่างที่ 402 (พ.อ.)
- กรมพัฒนาที่ 4
- กองพันทหารสื่อสารที่ 24 (พ.ท.)
ทำเนียบแม่ทัพภาคแก้ไข
ทำเนียบแม่ทัพภาคที่ 4 กองทัพบกไทย | ||
---|---|---|
รายนามแม่ทัพภาคที่ 4 | วาระการดำรงตำแหน่ง | |
1. พลโท สัณห์ จิตรปฏิมา | 18 มกราคม พ.ศ. 2519 – 30 กันยายน พ.ศ. 2519 | |
2. พลโท ปิ่น ธรรมศรี | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 – 30 กันยายน พ.ศ. 2522 | |
3. พลโท จวน วรรณรัตน์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522 – 30 กันยายน พ.ศ. 2524 | |
4. พลโท หาญ ลีนานนท์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2524 – 30 กันยายน พ.ศ. 2526 | |
5. พลโท วันชัย จิตต์จำนงค์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2526 – 30 กันยายน พ.ศ. 2529 | |
6. พลโท วิศิษย์ อาจคุ้มวงษ์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2529 – 30 กันยายน พ.ศ. 2532 | |
7. พลโท ยุทธนา แย้มพันธ์ | 30 ตุลาคม พ.ศ. 2532 – 1 เมษายน พ.ศ. 2534 | |
8. พลโท กิตติ รัตนฉายา | 2 เมษายน พ.ศ. 2534 – 30 กันยายน พ.ศ. 2537 | |
9. พลโท ปานเทพ ภูวนารถนุรักษ์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2537 – 30 กันยายน พ.ศ. 2539 | |
10. พลโท ปรีชา สุวัณณะศรี | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2539 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 | |
11. พลโท ณรงค์ เด่นอุดม | 1 เมษายน พ.ศ. 2542 – 30 กันยายน พ.ศ. 2544 | |
12. พลโท วิชัย บัวรอด | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2546 | |
13. พลโท ทรงกิตติ จักกาบาตร์ | 1 เมษายน พ.ศ. 2546 – 30 กันยายน พ.ศ. 2546 | |
14. พลโท พงษ์ศักดิ์ เอกบรรณสิงห์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2547 | |
15. พลโท พิศาล วัฒนะวงค์คีรี | 1 เมษายน พ.ศ. 2547 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2548 | |
16. พลโท ขวัญชาติ กล้าหาญ | 1 เมษายน พ.ศ. 2548 – 10 ธันวาคม พ.ศ. 2548 | |
17. พลโท องค์กร ทองประสม | 11 ธันวาคม พ.ศ. 2548 – 30 กันยายน พ.ศ. 2549 | |
18. พลโท วิโรจน์ บัวจรูญ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 – 30 กันยายน พ.ศ. 2551 | |
19. พลโท พิเชษฐ์ วิสัยจร | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 – 30 กันยายน พ.ศ. 2553 | |
20. พลโท อุดมชัย ธรรมสาโรรัชต์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2556 | |
21. พลโท สกล ชื่นตระกูล | 1 เมษายน พ.ศ. 2556 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2557 | |
22. พลโท วลิต โรจนภักดี | 1 เมษายน พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2557 | |
23. พลโท ปราการ ชลยุทธ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2558 | |
24. พลโท วิวรรธน์ ปฐมภาคย์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2559 | |
25. พลโท ปิยวัฒน์ นาควานิช | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 | |
26. พลโท พรศักดิ์ พูลสวัสดิ์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน |
หมายเหตุ ยศทหารเป็นยศขณะดำรงตำแหน่ง
ทำเนียบแม่ทัพน้อยแก้ไข
ทำเนียบแม่ทัพน้อยที่ 4 กองทัพบกไทย | ||
---|---|---|
รายนามแม่ทัพน้อยที่ 4 | วาระการดำรงตำแหน่ง | |
1. พลเอก กิตติ อินทสร | ||
2. พลโท นพวงศ์ สุรวิชัย | ||
3. พลโท เรืองศักดิ์ สุวรรณนาคะ | ||
4. พลโท คุณวุฒิ หมอแก้ว | ||
5. พลโท เกื้อกูล อินนาจักร์ | ||
6. พลโท พรศักดิ์ พูลสวัสดิ์ | ||
7. พลโท วิชาญ สุขสง | ||
8. พลโท สมพล ปานกุล | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 |
หมายเหตุ ยศทหารเป็นยศขณะดำรงตำแหน่ง
ผู้บังคับบัญชาปัจจุบันแก้ไข
|
|
กองกำลังทหารพรานจังหวัดชายแดนภาคใต้แก้ไข
กองกำลังหลักแก้ไข
ชื่อหน่วย | กองบัญชาการ | ผู้บังคับการ | กำลังพล | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
กองกำลังทหารพรานจังหวัดชายแดนภาคใต้ | ค่ายอิงคยุทธบริหาร อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี |
พันเอก คมกฤช รัตนฉายา | 18,335 นาย (พ.ศ. 2562) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4
● ดูแลกรมทหารพรานทั้ง 12 กรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ |
กรมทหารพรานที่ 41 | ค่ายวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา[1][2] |
พันเอก อรรถพล คงสง | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดยะลา[3] ● ดูแลอำเภอรามัน จังหวัดยะลา[4] |
กรมทหารพรานที่ 42 | ค่ายมหาจักรีสิรินธร อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา[2] |
พันเอก สมคิด คงแข็ง | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดสงขลา[3] ● ดูแลอำเภอยะหริ่ง และอำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี[4] |
กรมทหารพรานที่ 43 | ค่ายอิงคยุทธบริหาร อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี[2] |
พันเอก หาญพล เพชรม่วง[5][6] | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4 รับผิดชอบพื้นที่ 5 อำเภอของจังหวัดปัตตานี (อำเภอเมืองปัตตานี อำเภอหนองจิก อำเภอแม่ลาน อำเภอยะรัง และอำเภอยะหริ่ง)[3] ● ดูแลอำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี[4] |
กรมทหารพรานที่ 44 | อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี[2] | พันเอก กรกฎ เจริญฤทธิ์ | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดปัตตานีในอำเภอที่ติดกับจังหวัดนราธิวาส[3] ● ดูแลอำเภอสายบุรี, อำเภอกะพ้อ และอำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี[4] |
กรมทหารพรานที่ 45 | อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี[2] | พันเอก ธีร์พัชร์ เอมพันธุ์ | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดนราธิวาส[3] ● ดูแลอำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส[4] |
กรมทหารพรานที่ 46 | พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส[2] |
พันเอก ทรงเดช สุกนุ้ย | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดนราธิวาส[3] |
กรมทหารพรานที่ 47 | อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา[2] | พันเอก ชลัช ศรีวิเชียร | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4 รับผิดชอบพื้นที่จังหวัดยะลา[3] ● ดูแลอำเภอยะหา และอำเภอกาบัง จังหวัดยะลา[4] |
กรมทหารพรานที่ 48 | ค่ายกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส |
พันเอก เอกพล เลขนอก | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4[2] |
กรมทหารพรานที่ 49 | วัดศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส[7] |
พันเอก กำธร ศรีเกตุ | 1,489 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4[2] ● ดูแลอำเภอจะแนะ และอำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส[4] |
หมวดทหารพรานหญิง | 467 นาย (พ.ศ. 2554) | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 4[3] |
กองกำลังทดแทนแก้ไข
ชื่อหน่วย | กองบัญชาการ | ผู้บังคับการ | กำลังพล | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
กรมทหารพรานที่ 11 | ค่ายธนะรัชต์ อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ |
พันเอก ภานุมาศ คล้ายมงคล[10] | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 1[2] ● ดูแลอำเภอแว้ง และอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส[4] | |
กรมทหารพรานที่ 22 | ค่ายสุรนารี อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา |
พันเอก พิทักษ์พล ชูศรี[11] | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 2[2] ● ดูแลอำเภอยะรัง และอำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี[4] | |
กรมทหารพรานที่ 33 | ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก |
ว่าง | ● สังกัดกองทัพภาคที่ 3[2] ● ดูแลอำเภอบันนังสตา และอำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา[4] |
กรมทหารพรานที่จะก่อตั้งในอนาคต
- กรมทหารพรานที่ 410 ค่ายกัลยาณิวัฒนา อ.เมือง จ.นราธิวาส[ต้องการอ้างอิง]
- กรมทหารพรานที่ 411 ค่ายสิรินธร อ.ยะรัง จ.ปัตตานี[ต้องการอ้างอิง]
- กรมทหารพรานที่ 412 ค่ายพยัคฆ์ อ.บันนังสตา จ.ยะลา[ต้องการอ้างอิง]
ค่ายทหารในพื้นที่แก้ไข
|
|
ดูเพิ่มแก้ไข
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ 32 ปี สถาปนากรมทหารพรานที่ 41 กรมสำคัญช่วยขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้
- ↑ 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 ผ่าโครงสร้างใหม่ทหารพราน (2) จับตาแผนตั้ง "กองทัพน้อยที่ 4" สวนทางลดกำลังพล?
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 ผ่าโครงสร้างใหม่ทหารพราน (1) แผนถอนทหารหลักพ้นชายแดนใต้
- ↑ 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 4.10 4.11 เคยสงสัยไม๊! หน่วยทหารพรานเยอะไปหมดในภาคใต้ หน่วยไหนดูแลตรงไหน มาดูกัน - m today
- ↑ ตรวจฉี่ทหารพรานค้นหาสารเสพติด สนองยุทธศาสตร์คนดีแก้ปัญหาชายแดนใต้
- ↑ “วันอาสาฬหบูชา” ใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ เขาทำอะไรกัน - Workpoint News
- ↑ กรมทหารพรานที่ ๔๙ จัดพิธีวันสถาปนาหน่วย ครบรอบปีที่ ๖ - หนังสือพิมพ์ ดี ดี
- ↑ บทบาทสตรีกับการส่งเสริมความมั่นคง อาสาสมัครทหารพรานหญิงชายแดนใต้
- ↑ Iron flowers of the Deep South: The story of female paramilitaries and identity conflict (อังกฤษ)
- ↑ ทหารพรานหญิง กรมทหารพรานที่ 11 อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ส่งมอบความรักวันวาเลนไทน์ให้ประชาชนชายแดนใต้ สุขใจทั้งผู้ให้
- ↑ บิ๊กแดง” จัดแถว 135 ผู้พันทบ. ราบ-ม้า-ปืน -ทหารพราน
- ↑ ทหารพรานชุดน้ำหวานมอบกุหลาบสื่อรักวาเลนไทน์ให้ประชาชนใน 3 จชต.