สถานีอารีย์ (อังกฤษ: AriStation, รหัส N5) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับ ในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกซอยพหลโยธิน 7 (อารีย์)

อารีย์
N5

Ari
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°46′46.93″N 100°32′40.71″E / 13.7797028°N 100.5446417°E / 13.7797028; 100.5446417พิกัดภูมิศาสตร์: 13°46′46.93″N 100°32′40.71″E / 13.7797028°N 100.5446417°E / 13.7797028; 100.5446417
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTSC)
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTSC)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีN5
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 ธันวาคม พ.ศ. 2542; 23 ปีก่อน (2542-12-05)
ผู้โดยสาร
25641,995,390
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
สะพานควาย
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท สนามเป้า
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
Map

ที่ตั้ง แก้ไข

ถนนพหลโยธิน บริเวณปากซอยพหลโยธิน 7 (อารีย์) ด้านทิศใต้ ใกล้ซอยพหลโยธิน 5 (ราชครู) ในพื้นที่แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

แผนผังสถานี แก้ไข

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (สนามเป้า)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (สะพานควาย)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, ศูนย์การค้า ลา วิลล่า พหลโยธิน และ วิลลามาร์เก็ต สาขาซอยอารีย์
อาคารไอ บี เอ็ม, อาคารเอ็กซิม แบงก์, สหกรณ์พระนคร

รูปแบบของสถานี แก้ไข

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง (side platform station) ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา

ทางเข้า-ออก แก้ไข

  • 1 อาคารเอ็กซิม แบงก์, อาคารปิยวรรณ, ซอยพหลโยธิน 5 (ราชครู)
  • 2 SME Bank Tower, ธนาคารทหารไทย สาขาสนามเป้า
  • 3 ป้ายรถประจำทางไปหมอชิต, สหกรณ์พระนคร, ซอยพหลโยธิน 7 (อารีย์) (บันไดเลื่อน)
  • 4 ลา วิลล่า , ป้ายรถประจำทางไปอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ลิฟต์) , อาคารไอ บี เอ็ม, ซอยพหลโยธิน 6 (บันไดเลื่อน)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 หน้าฮอนด้า อารีย์

เวลาให้บริการ แก้ไข

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[1]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.19 23.50
E15 สำโรง 00.04
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.53 00.11
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.25

รถโดยสารประจำทาง แก้ไข

ถนนพหลโยธิน รถขสมก. สาย 26 29 39 54 59 63 77 97 204 502 503 509 510 A2 รถเอกชน สาย 8 27 29 39 74 97 157

ถนนพหลโยธิน
สายที่ ต้นทาง ปลายทาง หมายเหตุ
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
26 มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางผ่านถนนพหลโยธิน-รามอินทรา
29 รังสิต หัวลำโพง เส้นทางผ่านถนนวิภาวดีรังสิต
34 รังสิต หัวลำโพง เส้นทางผ่านถนนพหลโยธิน
39 ตลาดไท อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางผ่านถนนพหลโยธิน
54 ประตูน้ำ ห้วยขวาง เส้นทางวิ่งเป็นวงกลม
59 รังสิต สนามหลวง
63 นนทบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
77 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (หมอชิต)
97 กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงฆ์
204 ห้วยขวาง ท่าน้ำราชวงศ์ เฉพาะรถธรรมดา
502 มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางผ่านถนนลาดพร้าว-เสรีไทย
503 รังสิต สนามหลวง เส้นทางผ่านถนนพหลโยธิน
509 พุทธมณฑลสาย 2 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (หมอชิต)
510 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางผ่านถนนวิภาวดีรังสิต
A2 ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางขึ้นโทลล์เวย์
รถเอกชนร่วมบริการ
8 แฮปปี้แลนด์ สะพานพุทธ เฉพาะรถธรรมดา
8 เคหะร่มเกล้า สะพานพุทธ เฉพาะรถปรับอากาศ
27 มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางผ่านถนนลาดพร้าว-เสรีไทย
28 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (หมอชิต)
29 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รังสิต) หัวลำโพง เส้นทางผ่านถนนวิภาวดีรังสิต
38 สถาบันราชภัฎจันทรเกษม มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา
39 บางขันธ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
74 คลองเตย ห้วยขวาง
97 ท่าน้ำนนทบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
108 เดอะมอลล์ท่าพระ รัชโยธิน
157 อ้อมใหญ่ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (หมอชิต)
177 บางบัวทอง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วงกลม

สถานที่สำคัญใกล้เคียง แก้ไข

ศูนย์การค้าและอาคารสำนักงาน แก้ไข

 
วิลลามาร์เก็ต สาขาอารีย์

เหตุการณ์สำคัญในอดีต แก้ไข

  • 2 เมษายน 2548 เวลา 01.30 น. หลังจากที่รถไฟฟ้าปิดบริการไปแล้ว ได้เกิดเหตุรถซ่อมบำรุงรักษาชนท้ายรถเจียรางรถไฟฟ้า ที่รางรถไฟฟ้าบริเวณชั้น 3 ของสถานีอารีย์ ขณะที่รถทั้ง 2 ออกตรวจสอบสภาพและทำความสะอาดรางตลอดเส้นทางตามปกติมาตั้งแต่สถานีหมอชิต เหตุเกิดเนื่องจากรถซ่อมบำรุงรักษาที่ขับตามมากะระยะหยุดรถพลาด ทำให้มีพนักงานบาดเจ็บ 5 ราย[2]

อ้างอิง แก้ไข

  1. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.
  2. "ผู้จัดการออนไลน์ 2 เมษายน 2548". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-23. สืบค้นเมื่อ 2007-10-24.