สถานีอโศก (อังกฤษ: Asok station; รหัส: E4) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิทบริเวณทางแยกอโศกมนตรี ในพื้นที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร เป็นจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลที่สถานีสุขุมวิท

อโศก
E4

Asok
ชานชาลาสถานีอโศก
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนสุขุมวิท เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°44′13.32″N 100°33′37.51″E / 13.7370333°N 100.5604194°E / 13.7370333; 100.5604194
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ทางวิ่ง2
การเชื่อมต่อ สุขุมวิท
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีE4
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 ธันวาคม พ.ศ. 2542; 24 ปีก่อน (2542-12-05)
ผู้โดยสาร
25645,542,521
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
นานา
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท พร้อมพงษ์
มุ่งหน้า เคหะฯ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้ามหานคร สถานีต่อไป
ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
มุ่งหน้า หลักสอง
สายเฉลิมรัชมงคล
เชื่อมต่อที่ สุขุมวิท
เพชรบุรี
มุ่งหน้า ท่าพระ ผ่าน บางซื่อ
ที่ตั้ง
แผนที่

ที่ตั้ง

แก้
 
สถานีอโศก

สถานีตั้งอยู่เหนือถนนสุขุมวิท บริเวณปากซอยสุขุมวิท 14 (แพรกสามัคคี) และซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ด้านทิศตะวันตกของทางแยกอโศกมนตรี (จุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิท ถนนรัชดาภิเษก และถนนอโศกมนตรี) ในพื้นที่แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา และแขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

แผนผังสถานี

แก้
U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (พร้อมพงษ์)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (นานา)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
ทางเชื่อมไปยัง   สุขุมวิท, ทางเชื่อมกับศูนย์การค้าเทอร์มินัล 21 อโศก
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย, โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท

รูปแบบของสถานี

แก้

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง

สัญลักษณ์ของสถานี

แก้

ใช้สีเขียวตกแต่งเสาและรั้วบนชั้นชานชาลา ชั้นจำหน่ายตั๋ว ป้ายทางเข้าและบริเวณทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่า เป็นสถานีด้านตะวันออก

ทางเข้า-ออก

แก้
  • 1 ซอยสุขุมวิท 19, ป้ายรถประจำทางไปพร้อมพงษ์ (บันไดเลื่อน), เทอร์มินัล 21 อโศก
  • 2 ป้ายรถประจำทางไปนานา, โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท, ซอยสุขุมวิท 12
  • 3   สุขุมวิท (อาคารเชื่อมพร้อมบันไดเลื่อน), ถนนอโศกมนตรี, สยามสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ , มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, เทอร์มินัล 21 อโศก (ลิฟต์)
  • 4 โรงแรมโซลาเรีย นิชิเท็ตสึ กรุงเทพ (สะพานเชื่อม), ซอยสุขุมวิท 14, ซอยสุขุมวิท 16, ถนนรัชดาภิเษก, สวนเบญจกิตติ (ลิฟต์)
  • 5 โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท, อาคารไทม์ สแควร์, ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน สาขาสุขุมวิท และโรงแรมเดอะเวสทิน แกรนด์ สุขุมวิท, โรงแรมเอส 15, โรงแรมโซฟิเทล กรุงเทพ สุขุมวิท, ซอยสุขุมวิท 10, ซอยสุขุมวิท 12, ซอยสุขุมวิท 15, ดิอาร์ตบ็อกซ์ แอท สวนชูวิทย์ (ทางเดินเชื่อม)
  • 6 อาคารอินเตอร์เชนจ์ 21, อาคารเอ็กซ์เชนจ์

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 หน้าทางเข้าโรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท และบริเวณทางออก 4

เวลาให้บริการ

แก้
ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[1]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.36 00.09
E15 สำโรง 00.21
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.36 23.53
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.08

สิ่งอำนวยความสะดวก

แก้
  • ลิฟต์ สำหรับผู้พิการ จากทางเท้าถนนสุขุมวิททั้ง 2 ฝั่ง บริเวณทางออกที่ 3 และ 4 และบริเวณทางเชื่อมระหว่างสถานีรถไฟฟ้า และอาคารเทอร์มินัล 21
  • โครงการก่อสร้างทางเดินใต้รางรถไฟฟ้า (Skywalk) ข้ามสี่แยกอโศกมนตรี ตามแนวถนนสุขุมวิท

จุดเชื่อมต่อการเดินทาง

แก้

รถโดยสารประจำทาง

แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

สีเขียว : เขตการเดินรถที่ 2
สีแดง : เขตการเดินรถที่ 3
สีส้ม : เขตการเดินรถที่ 4

รถเอกชน

สีกรมท่า : เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครือ)

  ถนนสุขุมวิท

แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 (1)   อู่ปู่เจ้าสมิงพราย/อู่ช้างเอราวัณ สำนักงานที่ดินกรุงเทพ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. มีรถให้บริการตลอดคืน
อู่เมกาบางนา ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
25 (3)   อู่แพรกษาบ่อดิน ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

มีรถให้บริการทางด่วน
มีรถให้บริการตลอดคืน
501 (1)   อู่มีนบุรี สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

508 (2)   อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ ท่าราชวรดิษฐ์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) มีรถให้บริการทางด่วน
511   (2)   อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

  • ถนนสุขุมวิท รถขสมก. สาย รถขสมก. สาย 2 25 501 508 511 รถเอกชน สาย 40 48

  ถนนอโศกมนตรี

แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
185 (3)   อู่รังสิต   อู่คลองเตย ขสมก. 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
136 (1)   ท่าเรือคลองเตย   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
  • ถนนอโศกมนตรี สาย 136 185 รถเอกชน สาย 38

  ถนนรัชดาภิเษก

แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 (1)   อู่ปู่เจ้าสมิงพราย/อู่ช้างเอราวัณ อโศก 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. มีรถให้บริการตลอดคืน
อู่เมกาบางนา ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
185 (3)   อู่รังสิต   อู่คลองเตย
136 (1)   ท่าเรือคลองเตย   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
  • ถนน รัชดาภิเษก รถขสมก. 136 185

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

แก้

ศูนย์การค้า

แก้

อาคารสำนักงาน

แก้

โรงแรม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.