สถานีสะพานควาย (อังกฤษ: Saphan Khwai station; รหัส: N7) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธินบริเวณหน้าที่ทำการไปรษณีย์สามเสนใน ในพื้นที่เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

สะพานควาย
N7

Saphan Khwai
สถานีสะพานควาย
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°47′37.68″N 100°32′59.03″E / 13.7938000°N 100.5497306°E / 13.7938000; 100.5497306
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีN7
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 ธันวาคม พ.ศ. 2542; 24 ปีก่อน (2542-12-05)
ผู้โดยสาร
25641,427,958
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
หมอชิต
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท อารีย์
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่
ชานชาลาของสถานีสะพานควาย

ที่ตั้ง แก้

ถนนพหลโยธิน ห่างจากทางแยกสะพานควาย (จุดบรรจบกับถนนประดิพัทธ์และถนนสาลีรัฐวิภาค) ไปทางทิศเหนือ 400 เมตร ในพื้นที่แขวงพญาไทและแขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

แผนผังสถานี แก้

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (อารีย์)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (หมอชิต)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, โรงพยาบาลพญาไท พหลโยธิน, วัดไผ่ตัน
บิ๊กซี สะพานควาย, ตลาดสดสะพานควาย
ที่ทำการไปรษณีย์สามเสนใน และพิพิธภัณฑ์ตราไปรษณียากรสามเสนใน

รูปแบบของสถานี แก้

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา

สัญลักษณ์ของสถานี

ใช้สีส้มตกแต่งรั้วและเสาบริเวณชานชาลา ป้ายทางเข้าและทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีฝั่งพหลโยธินใต้

ทางเข้า-ออก แก้

  • 1 ตลาดสะพานควาย, ถนนประดิพัทธ์, ที่ทำการไปรษณีย์สามเสนใน, ป้ายรถประจำทางสะพานควายไปหมอชิต (บันไดเลื่อน,ลิฟต์)
  • 2 บิ๊กซี สะพานควาย, โรงพยาบาลพญาไท พหลโยธิน, ถนนสุทธิสารวินิจฉัย, โรงพยาบาลวิมุต, ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่, ป้ายรถประจำทางสะพานควายไปอารีย์
  • 3 วัดไผ่ตัน, ป้ายรถประจำทางวัดไผ่ตันไปหมอชิต, ที่ทำการไปรษณีย์สามเสนใน, พิพิธภัณฑ์ไปรษณีย์สามเสนใน
  • 4 ป้ายรถประจำทางวัดไผ่ตันไปอารีย์, บริษัท แสงชัยมิเตอร์ จำกัด, ไอดีโอมิกซ์ พหลโยธิน คอนโดมิเนียม

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 3 หน้าเซเว่นอีเลฟเว่น

เวลาให้บริการ แก้

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[1]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.16 23.47
E15 สำโรง 00.01
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.55 00.14
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.27

รถโดยสารประจำทาง แก้

ถนนพหลโยธิน รถขสมก. สาย 3 26 34 39 59 63 77 502 503 509 510 A2 รถเอกชน สาย 8 28 34 39 44 77 90 524

  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ แก้

สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
3 8 (กปด.18)   อู่กำแพงเพชร คลองสาน รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
3 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
26 2 (กปด.12)   อู่มีนบุรี   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
26   รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้ก๊าซธรรมชาติ)
34 1 (กปด.31)   อู่รังสิต   สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
39 1 (กปด.21)   ตลาดไท   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
1-8 (59) 1 (กปด.31)   อู่รังสิต สนามหลวง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
1-8 (59) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
63 7 (กปด.27) MRT พระนั่งเกล้า   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
63 รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
77 4 (กปด.24) เซ็นทรัลพระราม 3   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
77 รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
502 2 (กปด.12)   อู่มีนบุรี   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
503 1 (กปด.31)   อู่รังสิต สนามหลวง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
509 6 (กปด.26)   อู่บรมราชชนนี   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
1-19 (510)   1 (กปด.21) ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้ก๊าซธรรมชาติ)
A2   1 (กปด.11)   ท่าอากาศยานดอนเมือง

รถเอกชน แก้

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
8 (2-38)   แฮปปี้แลนด์   สะพานพุทธ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
28 (4-38)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน) ม.ราชภัฏจันทรเกษม บจก.สมาร์ทบัส
ไทยสมายล์บัส
34 (1-3)   บางเขน   สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) บจก.ไทยสมายล์บัส
39 (1-5)   รังสิต   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.หลีกภัยขนส่ง
(เครือไทยสมายล์บัส)
44 (2-42)   เคหะคลองจั่น   ท่าเตียน บจก.ไทยสมายล์บัส
77 (3-45)   เซ็นทรัลพระราม 3   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
90 (1-27) ปทุมธานี BTS หมอชิต รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า บจก.บัส 90
(ในเครือกิตติสุนทร)
มีรถให้บริการน้อย
524 (1-23)   หลักสี่   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524
(เครือไทยสมายล์บัส)
2-17     สถานีรถไฟบางซื่อ ม.เกษตรศาสตร์ บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางวิ่งเป็นวงกลม
มีรถให้บริการน้อย
2-34     สถานีรถไฟสามเสน ดินแดง
ถนนพหลโยธิน
สายที่ ต้นทาง ปลายทาง หมายเหตุ
รถเอกชนร่วมบริการ
8 แฮปปี้แลนด์ สะพานพุทธ เฉพาะรถธรรมดา
8 เคหะร่มเกล้า สะพานพุทธ เฉพาะรถปรับอากาศ
27 มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางผ่านถนนลาดพร้าว-เสรีไทย

สถานที่สำคัญใกล้เคียง แก้

อ้างอิง แก้

  1. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.