สถานีอารีย์ (อังกฤษ: Ari station; รหัส: N5) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธินบริเวณปากซอยพหลโยธิน 7 ในพื้นที่เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

อารีย์
N5

Ari
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°46′46.93″N 100°32′40.71″E / 13.7797028°N 100.5446417°E / 13.7797028; 100.5446417
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีN5
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 ธันวาคม พ.ศ. 2542; 24 ปีก่อน (2542-12-05)
ผู้โดยสาร
25641,995,390
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
สะพานควาย
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท สนามเป้า
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่

ที่ตั้ง แก้

ถนนพหลโยธิน บริเวณปากซอยพหลโยธิน 7 (อารีย์) ด้านทิศใต้ ใกล้ปากซอยพหลโยธิน 5 (ราชครู) ในพื้นที่แขวงพญาไทและแขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

แผนผังสถานี แก้

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (สนามเป้า)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (สะพานควาย)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, ศูนย์การค้า ลา วิลล่า พหลโยธิน และ วิลลามาร์เก็ต สาขาซอยอารีย์
อาคารไอ บี เอ็ม, อาคารเอ็กซิม แบงก์, สหกรณ์พระนคร

รูปแบบของสถานี แก้

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา

ทางเข้า-ออก แก้

  • 1 อาคารเอ็กซิม แบงก์, อาคารปิยวรรณ, ซอยพหลโยธิน 5 (ราชครู)
  • 2 SME Bank Tower, ธนาคารทหารไทย สาขาสนามเป้า
  • 3 ป้ายรถประจำทางไปหมอชิต, สหกรณ์พระนคร, ซอยพหลโยธิน 7 (อารีย์) (บันไดเลื่อน)
  • 4 ลา วิลล่า , ป้ายรถประจำทางไปอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ลิฟต์) , อาคารไอ บี เอ็ม, ซอยพหลโยธิน 6 (บันไดเลื่อน)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 หน้าฮอนด้า อารีย์

เวลาให้บริการ แก้

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[1]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.19 23.50
E15 สำโรง 00.04
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.53 00.11
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.25

รถโดยสารประจำทาง แก้

ถนนพหลโยธิน รถขสมก. สาย 26 29 39 54 59 63 77 97 204 502 503 509 510 A2 รถเอกชน สาย 8 27 29 39 74 97 157

ถนนพหลโยธิน แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ แก้

  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
26 2
(กปด.12)
  อู่มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
26 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
34 1
(กปด.31)
  อู่รังสิต สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
39 1
(กปด.21)
  อู่ธรรมศาสตร์รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
54 4
(กปด.34)
  วงกลม: อู่พระราม 9 ดินแดง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
1-8 (59) 1
(กปด.31)
  อู่รังสิต สนามหลวง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
1-8 (59) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
63 7
(กปด.27)
  เอ็มอาร์ทีสะพานพระนั่งเกล้า อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
63 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
77 4
(กปด.24)
  อู่สาธุประดิษฐ์   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
77 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
97 7
(กปด.27)
กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงฆ์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
97 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
204 8
(กปด.18)
  สนามกีฬาห้วยขวาง ท่านํ้าราชวงศ์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
502 2
(กปด.12)
  อู่มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีมน้ำเงิน
503 1
(กปด.31)
  อู่รังสิต สนามหลวง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
509 6
(กปด.26)
  อู่บรมราชชนนี   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
1-19 (510) 1
(กปด.21)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
A2 1
(กปด.11)
เพิ่มที่ →{{rail-interchange}} ท่าอากาศยานดอนเมือง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถเอกชน แก้

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
8 แฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีชมพู
รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีครีมขาว-นํ้าเงิน
บจก.กลุ่ม 39 เดินรถ
บจก.ทรัพย์ 888
8 (2-38)   แฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
28   มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สถานีขนส่งผู้โดยสารสายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) บจก.สมารท์บัส
34E (1-3)   บางเขน หัวลำโพง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

38 (3-8)  

  อู่ไทยสมายล์บัส (สาขามหาวิทยาลัยรามคำแหง 2) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
39 (1-5)   รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
74 ห้วยขวาง คลองเตย รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กมินิบัสสีส้ม บจก.เนื้อทองทรานสปอร์ต

สถานที่สำคัญใกล้เคียง แก้

ศูนย์การค้าและอาคารสำนักงาน แก้

 
วิลลามาร์เก็ต สาขาอารีย์

เหตุการณ์สำคัญในอดีต แก้

  • 2 เมษายน 2548 เวลา 01.30 น. หลังจากที่รถไฟฟ้าปิดบริการไปแล้ว ได้เกิดเหตุรถซ่อมบำรุงรักษาชนท้ายรถเจียรางรถไฟฟ้า ที่รางรถไฟฟ้าบริเวณชั้น 3 ของสถานีอารีย์ ขณะที่รถทั้ง 2 ออกตรวจสอบสภาพและทำความสะอาดรางตลอดเส้นทางตามปกติมาตั้งแต่สถานีหมอชิต เหตุเกิดเนื่องจากรถซ่อมบำรุงรักษาที่ขับตามมากะระยะหยุดรถพลาด ทำให้มีพนักงานบาดเจ็บ 5 ราย[2]

อ้างอิง แก้

  1. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.
  2. "ผู้จัดการออนไลน์ 2 เมษายน 2548". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-23. สืบค้นเมื่อ 2007-10-24.