MBC Dramia

ยงอินเอ็มบีซีดราเมีย ตั้งอยู่ในเขตชออิน เมืองยงอิน จังหวัดคย็องกี ประเทศเกาหลีใต้ เป็นสถานที่ถ่ายทำกลางแจ้ง มีละครแนวประวัติศาสตร์เกาหลีจำนวนมากถ่ายทำที่นี่ เช่น จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์ ลีซาน จอมบัลลังก์พลิกแผ่นดิน ทงอี จอมนางคู่บัลลังก์ เป็นต้น เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างเอ็มบีซีกับเมืองยงอินที่ตกลงกันสร้างฉากกลางแจ้งเพื่อใช้ในการถ่ายทำละคร เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) และเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011)[1] มีพื้นที่ขนาด 2,500,000 ตารางเมตร

รายชื่อละครที่มาถ่ายทำ แก้

ปี ค.ศ. ชื่อละคร ผู้กำกับ นักแสดงนำ
2013 Gu Family Book
Goddess of Fire
2014 The King's Daughter, Soo Baek-hyang
(ไทย: ซูแบคยัง จอมนางเจ้าบัลลังก์)
Empress Ki
(ไทย: กีวังฮู จักรพรรดินีสองแผ่นดิน)
Triangle
The Night Watchman's Journal
(ไทย: อัศวินรัตติกาล)
2015 Shine or Go Crazy
Splendid Politics
Scholar Who Walks the Night

อ้างอิง แก้

  1. "Shooting scenes in Gyeonggi Province". Gyeonggi Women’s Information Webzine Woori. 2012-07-05. สืบค้นเมื่อ 2016-01-22.


รายชื่อสุสาน แก้

สุสานหลวงมีการแบ่งระดับของสุสานไว้ 3 ระดับ[1] คือ

  1. "นึง" (เกาหลี: , อักษรโรมัน: neung) สำหรับเรียกพระราชสุสานที่ใช้ฝังพระบรมศพของกษัตริย์ และพระศพพระมเหสี รวมถึงพระราชวงศ์ที่ได้รับการสถาปนาพระเกียรติยศเทียบเท่ากษัตริย์หรือพระมเหสี
  2. "วอน" (เกาหลี: , อักษรโรมัน: won) สำหรับเรียกพระสุสานที่ใช้ฝังพระศพพระราชบิดากับพระราชมารดาของกษัตริย์ องค์ชายรัชทายาท และพระชายาในองค์ชายรัชทายาท
  3. "มโย" (เกาหลี: , อักษรโรมัน: myo) สำหรับเรียกพระสุสานที่ใช้ฝังพระศพพระราชวงศ์ระดับรองลงมา รวมถึงกษัตริย์ พระมเหสี หรือพระสนมที่โดนปลดออกจากตำแหน่งด้วย อนึ่ง สุสานของประชาชนทั่วไปเรียกว่า มโย เช่นกัน

ดงกูลึง (동구릉) แก้

 
Geonwolleung

ดงกูลึง: 37°37′11″N 127°07′53″E / 37.61972°N 127.13139°E / 37.61972; 127.13139

กลุ่มพระราชสุสานดงกูรึง (เกาหลี: 동구릉, อักษรโรมัน: Donggureung Tomb Cluster) ตั้งอยู่ในเมืองคูรี จังหวัดคย็องกี เป็นพระราชสุสานที่มีพื้นที่กว้างขวางที่สุดในเกาหลีใต้ ประกอบด้วยพระราชสุสาน 9 หลัง โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่พระราชสุสานก็อนว็อลลึง (เกาหลี: 건원릉, อักษรโรมัน: Geonwolleung) ที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อน และพระราชสุสานอื่น ๆ ที่อยู่ล้อมรอบ ได้แก่ พระราชสุสานมงนึง (เกาหลี: 목릉, อักษรโรมัน: Mongneung) ที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าซอนโจ พระศพพระมเหสีอึยอิน และพระมเหสีอินมก พระราชสุสานฮย็อลลึง (เกาหลี: 현릉, อังกฤษ: Hyeolleung) ที่ฝังพระบรมศพพระเจ้ามุนจง และพระศพพระมเหสีฮยอนด็อค

พระราชสุสานซูลึง (เกาหลี: 수릉, อักษรโรมัน: Sureung) ที่ฝังพระศพองค์ชายฮโยมยอง องค์ชายรัชทายาทในพระเจ้าซุนโจ และพระศพพระชายาซินจอง พระราชสุสานฮวีลึง (เกาหลี: 휘릉, อักษรโรมัน: Hwireung) ที่ฝังพระศพพระมเหสีจางนย็อล พระมเหสีในพระเจ้าอินโจ พระราชสุสานคย็องนึง (เกาหลี: 경릉, อักษรโรมัน: Gyeongneung) ที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าฮอนจง พระศพพระมเหสีฮโยฮย็อน และพระศพพระมเหสีฮโยจ็อง

พระราชสุสานว็อลลึง (เกาหลี: 원릉, อักษรโรมัน: Wolleung) ที่ฝังพระบรมศพพระเจ้ายองโจ และพระศพพระมเหสีจ็องซุน พระราชสุสานฮเยลึง (เกาหลี: 혜릉, อักษรโรมัน: Hyereung) ที่ฝังพระศพพระมเหสีดันอึย พระมเหสีในพระเจ้าคย็องจง และพระราชสุสานซุงนึง (เกาหลี: 숭릉, อักษรโรมัน: Sungneung) ที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าฮย็อนจง และพระศพพระมเหสีมย็องซ็อง

กวังนึง (광릉) แก้

กวังนึง: 37°45′08″N 127°10′38″E / 37.75222°N 127.17722°E / 37.75222; 127.17722

พระราชสุสานกวังนึง (เกาหลี: 광릉, อักษรโรมัน: Gwangneung) ตั้งอยู่ในเมืองนัมยางจู จังหวัดคย็องกี เป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าเซโจ และพระศพพระมเหสีจองฮุย ตระกูลยุน

ฮ็อลลึงและอิลลึง(헌릉&인릉) แก้

ฮ็อลลึง: 37°27′58″N 127°04′59″E / 37.46611°N 127.08306°E / 37.46611; 127.08306
อิลลึง: 37°27′58″N 127°04′50″E / 37.46611°N 127.08056°E / 37.46611; 127.08056

พระราชสุสานฮ็อลลึง (เกาหลี: 헌릉, อักษรโรมัน: Heolleung) และพระราชสุสานอิลลึง (เกาหลี: 인릉, อักษรโรมัน: Illeung) ตั้งอยู่ในทางตอนใต้ของโซล ฮ็อลลึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าแทจง และพระศพพระมเหสีวอนคย็อง ตระกูลมิน ส่วนอิลลึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าซุนโจ และพระศพพระมเหสีซุนวอน ตระกูลกิม

ฮงนึงและยูลึง (홍릉&유릉) แก้

ฮงนึง: 37°37′52″N 127°12′45″E / 37.63111°N 127.21250°E / 37.63111; 127.21250
ยูลึง: 37°37′50″N 127°12′33″E / 37.63056°N 127.20917°E / 37.63056; 127.20917
ย็องวอน: 37°37′46″N 127°12′56″E / 37.62944°N 127.21556°E / 37.62944; 127.21556

พระราชสุสานฮงนึง (เกาหลี: 홍릉, อักษรโรมัน: Hongneung) และพระราชสุสานยูลึง (เกาหลี: 유릉, อักษรโรมัน: Yureung) ตั้งอยู่ในเมืองนัมยางจู จังหวัดคย็องกี ฮงนึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระจักรพรรดิโกจง และพระศพจักรพรรดินีมย็องซ็อง ส่วนยูลึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระจักรพรรดิซุนจง พระศพพระจักรพรรดินีซุนมยองฮโย และพระศพพระจักรพรรดินีซุนจองฮโย พระราชสุสานยูลึงนับเป็นพระราชสุสานลำดับสุดท้ายของราชวงศ์โชซ็อน

ส่วนพระสุสานอีก 1 หลังที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกันแต่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกด้วยนั้น คือ พระสุสานย็องวอน (เกาหลี: 영원, อักษรโรมัน: Yeongwon) เป็นที่ฝังพระศพเจ้าชายอุยมิน พระราชโอรสในพระจักรพรรดิโกจง มกุฏราชกุมารองค์สุดท้ายของราชวงศ์โชซ็อน และพระศพพระชายาอี พัง-จา

จังนึง (คิมโพ) (김포 장릉) แก้

จังนึง (คิมโพ): 37°36′47″N 126°42′40″E / 37.61306°N 126.71111°E / 37.61306; 126.71111

พระราชสุสานจังนึง (เกาหลี: 김포 장릉, อักษรโรมัน: Jangneung (Gimpo)) ตั้งอยู่ในเมืองเมืองคิมโพ จังหวัดคย็องกี เป็นที่ฝังพระศพองค์ชายว็อนจง และพระชายาอินฮ็อน พระราชบิดาและพระราชมารดาของพระเจ้าอินโจ

จังนึง (พาจู) (파주 장릉) แก้

จังนึง (พาจู): 37°46′25″N 126°42′29″E / 37.77361°N 126.70806°E / 37.77361; 126.70806

พระราชสุสานจังนึง (พาจู) (เกาหลี: 파주 장릉, อักษรโรมัน: Jangneung (Paju)) ตั้งอยู่ในเมืองพาจู จังหวัดคย็องกี เป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าอินโจ และพระศพพระมเหสีอิลย็อล ปัจจุบัน พระราชสุสานหลังนี้ไม่เปิดให้สาธารณชนเข้าชม[2]

จังนึง (ย็องวอล)(영월 장릉) แก้

จังนึง (ย็องวอล): 37°11′51″N 128°27′11″E / 37.19750°N 128.45306°E / 37.19750; 128.45306

พระราชสุสานจังนึง (ย็องวอล) (เกาหลี: 영월 장릉, อักษรโรมัน: Jangneung (Yeongwol)) ตั้งอยู่ในเมืองย็องวอล จังหวัดคังวอน เป็นที่ฝังพระศพพระเจ้าทันจง เป็นพระราชสุสานที่ไกลจากโซลมากที่สุด

จองนึง (정릉) แก้

จองนึง: 37°36′08″N 127°00′21″E / 37.60222°N 127.00583°E / 37.60222; 127.00583

พระราชสุสานจองนึง (เกาหลี: 정릉, อักษรโรมัน: Jeongneung) ตั้งอยู่ในโซล เป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีซินด็อค ตระกูลกัง พระมเหสีในพระเจ้าแทโจ

โอลลึง (온릉) แก้

โอลลึง: 37°43′13″N 126°57′04″E / 37.72028°N 126.95111°E / 37.72028; 126.95111

พระราชสุสานโอลลึง (เกาหลี: 온릉, อักษรโรมัน: Olleung) ตั้งอยู่ในเมืองยังจู จังหวัดคย็องกี เป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีดันคย็อง พระมเหสีในพระเจ้าจุงจง ปัจจุบัน พระราชสุสานหลังนี้ไม่เปิดให้สาธารณชนเข้าชม[3]

ซัมนึง (พาจู) (파주 삼릉) แก้

กงนึง: 37°44′45″N 126°49′48″E / 37.74583°N 126.83000°E / 37.74583; 126.83000
ซอลลึง: 37°44′37″N 126°50′11″E / 37.74361°N 126.83639°E / 37.74361; 126.83639
ยองนึง: 37°44′33″N 126°50′01″E / 37.74250°N 126.83361°E / 37.74250; 126.83361

กลุ่มพระราชสุสานซัมนึง (พาจู) (เกาหลี: 파주 삼릉, อักษรโรมัน: Paju Samneung Cluster) ตั้งอยู่ในเมืองพาจู จังหวัดคย็องกี ประกอบด้วยพระราชสุสาน 3 หลัง คือ พระราชสุสานกงนึง (เกาหลี: 공릉, อักษรโรมัน: Gongneung) พระราชสุสานซอลลึง (เกาหลี: 술릉, อักษรโรมัน: Sulleung) และพระราชสุสานยองนึง (เกาหลี: 영릉, อักษรโรมัน: Yeongneung) กงนึงเป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีจางซุน ตระกูลฮัน พระมเหสีในพระเจ้าเยจง ซอลลึงเป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีกงฮเย ตระกูลฮัน พระมเหสีในพระเจ้าซองจง ส่วนยองนึงเป็นที่ฝังพระศพเจ้าชายฮโยจัง พระราชโอรสองค์โตในพระเจ้ายองโจ และพระศพพระชายาฮโยซุน

ซารึง (사릉) แก้

ซารึง: 37°38′50″N 127°11′51″E / 37.64722°N 127.19750°E / 37.64722; 127.19750
พระราชสุสานซารึง (เกาหลี: 사릉, อักษรโรมัน: Sareung) ตั้งอยู่ที่ในเมืองนัมยางจู จังหวัดคย็องกี เป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีจองซุน ตระกูลซง พระมเหสีในพระเจ้าทันจง

 
Seolleung - Tomb of King Seongjong

ซ็อลลึงและจ็องนึง (선릉&정릉) แก้

ซ็อลลึง: 37°30′32″N 127°02′44″E / 37.50889°N 127.04556°E / 37.50889; 127.04556
จ็องนึง: 37°30′32″N 127°03′07″E / 37.50889°N 127.05194°E / 37.50889; 127.05194

พระราชสุสานซ็อลลึง (เกาหลี: 선릉, อักษรโรมัน: Seolleung) และพระราชสุสานจ็องนึง (เกาหลี: 정릉, อักษรโรมัน: Jeongneung) ตั้งอยู่ในตอนใต้ของโซล ซ็อลลึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าซองจง และพระศพพระมเหสีจองฮยอน ตระกูลยุน ส่วนจ็องนึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าจุงจง

ในเอกสารของทางการ มีการเรียกชื่อพระราชสุสาน 2 หลังนี้รวมกันว่า "ซ็อนจ็องนึง" (เกาหลี: 선정릉, อักษรโรมัน: Seonjeongneung)

ซอโอลึง (서오릉) แก้

 
พระราชสุสานมย็องนึง

คย็องนึง: 37°37′47″N 126°53′38″E / 37.62972°N 126.89389°E / 37.62972; 126.89389
ชังนึง: 37°38′09″N 126°53′42″E / 37.63583°N 126.89500°E / 37.63583; 126.89500
อิงนึง: 37°37′47″N 126°54′02″E / 37.62972°N 126.90056°E / 37.62972; 126.90056
มย็องนึง: 37°37′31″N 126°54′04″E / 37.62528°N 126.90111°E / 37.62528; 126.90111
ฮงนึง: 37°37′58″N 126°53′38″E / 37.63278°N 126.89389°E / 37.63278; 126.89389
ซุนชังวอน: 37°37′45″N 126°53′50″E / 37.62917°N 126.89722°E / 37.62917; 126.89722
ซูคย็องวอน: 37°37′38″N 126°54′02″E / 37.62722°N 126.90056°E / 37.62722; 126.90056
แดบินมโย: 37°37′49″N 126°53′32″E / 37.63028°N 126.89222°E / 37.63028; 126.89222

กลุ่มพระราชสุสานซอโอลึง (เกาหลี: 서오릉, อักษรโรมัน: Seo-oreung Cluster) ตั้งอยู่ในเมืองโกยาง จังหวัดคย็องกี ประกอบด้วยพระราชสุสาน 5 หลัง ได้แก่ พระราชสุสานคย็องนึง (เกาหลี: 경릉, อักษรโรมัน: Gyeongneung) เป็นที่ฝังพระศพองค์ชายอึยคย็อง องค์ชายรัชทายาทในพระเจ้าเซโจ และพระศพพระชายาโซฮเย พระราชสุสานชังนึง (เกาหลี: 창릉, อักษรโรมัน: Changneung) เป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าเยจง และพระศพพระมเหสีอันซุน ตระกูลฮัน พระราชสุสานอิงนึง (เกาหลี: 익릉, อักษรโรมัน: Ingneung) เป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีอิงคย็อง พระมเหสีในพระเจ้าซุกจง พระราชสุสานมย็องนึง (เกาหลี: 명릉, อักษรโรมัน: Myeongneung) เป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าซุกจง พระศพพระมเหสีอินฮย็อน และพระศพพระมเหสีอินว็อน และพระราชสุสานฮงนึง (เกาหลี: 홍릉, อักษรโรมัน: Hongneung) เป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีจ็องซ็อง พระมเหสีในพระเจ้ายองโจ

ในบริเวณใกล้เคียงกัน มีพระสุสานอีก 3 หลังที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกแต่มีชื่อเสียง ได้แก่ ซุนชังวอน (เกาหลี: 순창원, อักษรโรมัน: Sunchangwon) เป็นที่ฝังพระศพองค์ชายซุนโฮ องค์ชายรัชทายาทในพระเจ้ามย็องจ็อง และพระศพพระชายากงฮโยบิน ตระกูลยุน ซูคย็องวอน (เกาหลี: 수경원, อักษรโรมัน: Sugyeongwon)เป็นที่ฝังพระศพพระสนมยองบิน ตระกูลอี พระสนมในพระเจ้ายองโจและพระราชมารดาของมกุฏราชกุมารซาโด และแดบินมโย (เกาหลี: 대빈묘, อักษรโรมัน: Daebinmyo) เป็นที่ฝังพระศพพระสนมฮีบิน ตระกูลจาง พระสนมในพระเจ้าซุกจง

ซอซัมนึง (서삼릉) แก้

ฮุยลึง: 37°39′49″N 126°52′14″E / 37.66361°N 126.87056°E / 37.66361; 126.87056
ฮโยลึง: 37°39′53″N 126°51′51″E / 37.66472°N 126.86417°E / 37.66472; 126.86417
เยลึง: 37°39′56″N 126°52′07″E / 37.66556°N 126.86861°E / 37.66556; 126.86861
ฮอยมโย: 37°39′58″N 126°51′32″E / 37.66611°N 126.85889°E / 37.66611; 126.85889
ฮโยชังวอน: 37°39′50″N 126°52′02″E / 37.66389°N 126.86722°E / 37.66389; 126.86722
อึยรย็องวอน : 37°39′50″N 126°52′02″E / 37.66389°N 126.86722°E / 37.66389; 126.86722

กลุ่มพระราชสุสานซอซัมนึง (เกาหลี: 서삼릉, อักษรโรมัน: Seosamneung Cluster) ตั้งอยูในเมืองโกยาง จังหวัดคย็องกี ประกอบด้วยพระราชสุสาน 3 หลัง คือ พระราชสุสานฮุยลึง (เกาหลี: 휘릉, อักษรโรมัน: Huireung) พระราชสุสานฮโยลึง (เกาหลี: 효릉, อักษรโรมัน: Hyoreung) และพระราชสุสานเยลึง (เกาหลี: 예릉, อักษรโรมัน: Yereung) ฮุยลึงเป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีจังคย็อง พระมเหสีในพระเจ้าจุงจง ฮโยลึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าอินจง และพระศพพระมเหสีอินซอง ส่วนเยลึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าชอลจง และพระศพพระมเหสีชอลอิน

นอกจากนี้ยังมีพระสุสานอีก 50 หลังอยู่ในบริเวณใกล้เคียง เป็นที่ฝังพระศพของพระราชวงศ์พระองค์อื่น ๆ พระสุสานที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ฮโยชังวอน (เกาหลี: 효창원, อักษรโรมัน: Hyochangwon) เป็นที่ฝังพระศพองค์ชายมุนฮโย องค์ชายรัชทายาทในพระเจ้าจองโจ อึยรย็องวอน (เกาหลี: 의령원, อักษรโรมัน: Uiryeongwon) เป็นที่ฝังพระศพองค์ชายอึยโซ พระราชนัดดาพระองค์แรกในพระเจ้ายองโจ[4] และฮเวมโย (เกาหลี: 회묘, อักษรโรมัน: Hoemyo) เป็นที่ฝังพระศพอดีตพระมเหสีแจฮอน ตระกูลยุน พระมเหสีในพระเจ้าซองจง

แทลึงและกังนึง (태릉&강릉) แก้

แทลึง: 37°38′05″N 127°05′49″E / 37.63472°N 127.09694°E / 37.63472; 127.09694
กังนึง: 37°38′24″N 127°06′19″E / 37.64000°N 127.10528°E / 37.64000; 127.10528

พระราชสุสานแทลึง (เกาหลี: 태릉, อักษรโรมัน: Taereung) และพระราชสุสานกังนึง (เกาหลี: 강릉, อักษรโรมัน: Gangneung) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของโซล แทลึงเป็นที่ฝังพระศพพระมเหสีมุนจอง ตระกูลยุน พระมเหสีในพระเจ้าจุงจง ส่วนกังนึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้ามยองจง และพระศพพระมเหสีอินซุน ตระกูลซิม

อึยลึง (의릉) แก้

อึยลึง: 37°36′13″N 127°03′25″E / 37.60361°N 127.05694°E / 37.60361; 127.05694

พระราชสุสานอึยลึง (เกาหลี: 의릉, อักษรโรมัน: Uireung) ตั้งอยู่ในโซล เป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าคย็องจง และพระศพพระมเหสีซอนอึย ตระกูลออ

ย็องนึงและนย็องนึง (영릉&영릉) แก้

ย็องนึง: 37°18′29″N 127°36′11″E / 37.30806°N 127.60306°E / 37.30806; 127.60306
นย็องนึง: 37°18′50″N 127°36′32″E / 37.31389°N 127.60889°E / 37.31389; 127.60889

 
Yeongneung

พระราชสุสานย็องนึง (เกาหลี: 영릉, อักษรโรมัน: Yeongneung) และพระราชสุสานนย็องนึง (เกาหลี: 녕릉, อักษรโรมัน: Nyeongneung) ตั้งอยู่ในเมืองยอจู จังหวัดคย็องกี ย็องนึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าเซจงมหาราช และพระศพพระมเหสีโซฮอน ส่วนนย็องนึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าฮโยจง และพระศพพระมเหสีอินซอน

อย่างไรก็ตาม ในบางครั้งมีการเรียกพระราชสุสานนย็องนึงว่า "พระราชสุสานย็องนึง" เช่นกัน[5]

ยุงนึงและก็อนลึง (융릉&건릉) แก้

ยุงนึง: 37°12′42″N 126°59′38″E / 37.21167°N 126.99389°E / 37.21167; 126.99389
ก็อนลึง: 37°12′50″N 126°59′17″E / 37.21389°N 126.98806°E / 37.21389; 126.98806

 
Geolleung

พระราชสุสานยุงนึง (เกาหลี: 융릉, อักษรโรมัน: Yungneung) และพระราชสุสานก็อนลึง (เกาหลี: 건릉, อักษรโรมัน: Geolleung) ตั้งอยู่ในเมืองฮวาซ็อง จังหวัดคย็องกี ยุงนึงเป็นที่ฝังพระศพมกุฎราชกุมารซาโด กับพระชายาฮเยคย็อง ส่วนก็อนลึงเป็นที่ฝังพระบรมศพพระเจ้าช็องโจ กับพระมเหสีฮโยอึย

ในเอกสารของทางการมีการเรียกชื่อพระราชสุสาน 2 หลังนี้รวมกันว่า "ยุงก็อนลึง" (เกาหลี: 융건릉, อักษรโรมัน: Yunggeolleung)



Tombs แก้

The tombs are classified into two types. Tombs of the kings and queens and those posthumously granted the title of king or queen, were interred in neung-type tombs. Crown princes and their wives, as well as the parents of royalty, were interred in won-type tombs. The royal tombs are scattered over 18 locations, with many of them located 40 kilometers from Hanseong (present-day Seoul). Indeed, the Jangneung tomb is in Yeongwol, Gangwon-do, while the Yeongneung tombs are in Yeoju, Gyeonggi-do. Tombs were made for individuals as well as family groups. There are 40 neung-type and 13 won-type tombs, thus creating a total of 53 royal tombs.

Joseon-era royal tombs followed the guidelines outlined in Chinese Confucian texts, such as the Book of Rites (Li Ji) and the Rites of Zhou (Zhou Li). Many factors went into consideration when deciding the location of a tomb, such as the distance from Hanyang, the distance in relation to other royal tombs, the accessibility of the location, and Korean traditions of pungsu (geomancy). The tomb construction also took into account traditional burial rituals of Korea and the natural environment.

There now follows a list (in alphebatical order) of the individual (or clusters of) tombs. There are two more royal tombs from the Joseon Dynasty in Kaesong, North Korea, namely Jereung (제릉) (the tomb of Queen Sinui, who was King Taejo's first consort) and Hureung (후릉) (the tomb of King Jeongjong and Queen Jeongan).[6]


Seo-oreung Cluster (서오릉) แก้

Changneung: 37°38′09″N 126°53′42″E / 37.63583°N 126.89500°E / 37.63583; 126.89500
Hongneung: 37°37′58″N 126°53′38″E / 37.63278°N 126.89389°E / 37.63278; 126.89389
Gyeongneung: 37°37′47″N 126°53′38″E / 37.62972°N 126.89389°E / 37.62972; 126.89389
Ingneung: 37°37′47″N 126°54′02″E / 37.62972°N 126.90056°E / 37.62972; 126.90056
Myeongneung: 37°37′31″N 126°54′04″E / 37.62528°N 126.90111°E / 37.62528; 126.90111
Daebinmyo: 37°37′49″N 126°53′32″E / 37.63028°N 126.89222°E / 37.63028; 126.89222
Sugyeongwon: 37°37′38″N 126°54′02″E / 37.62722°N 126.90056°E / 37.62722; 126.90056
Sunchangwon: 37°37′45″N 126°53′50″E / 37.62917°N 126.89722°E / 37.62917; 126.89722
This is a group of tombs in Goyang. The tombs are named Changneung (창릉) (which is a pair of tombs), Hongneung (홍릉), Gyeongneung (경릉), Ingneung (익릉) and Myeongneung (명릉) (which is a trio of tombs: one alone and another two joined as a pair). Other notable tombs here include Daebinmyo (대빈묘), Sugyeongwon (수경원) and Sunchangwon (순창원).

Gyeongneung Royal tomb, Goyang (敬陵) This is the royal tomb of King Deokjong (the Crown Prince Uigyeong, 1438-1457) and his lawful wife, Queen Sohye (昭惠王后, 1437-1504), from the Han family. The Crown Prince Uigyeong was the eldest son of King Sejo, and was installed as Crown Prince in 1455. When he died at the age of 20, a funeral and a tomb suitable for a royal prince was held and created. He received the posthumous title of King Deokjong from his second son, King Seongjong in 1471.

Queen Sohye was installed as Crown Princess in 1455. When her son, King Seongjong, ascended the throne, she became Queen Dowager (Queen Dowager Insu). Being bright and erudite, Queen Sohye published a book titled, “Naehun” (內訓, an educational book for women) to give lessons in etiquette to women and girls. Prince Yeonsan sought revenge against those who deposed and killed his birth mother. It is said that Queen Sohye died a few days after she was hit by the head of Prince Yeonsan while she was scolding him about his retaliation.

กยองนึง พระราชสุสานกยองนึง เป็นที่ฝังพระศพพระเจ้าด็อคจง (องค์ชายรัชทายาทอึย-กยอง,ค.ศ. 1438-1457) และพระมเหสีโซฮเย ตระกูลฮัน (昭惠王后, 1437-1504) องค์ชายรัชทายาทอึย-กยองเป็นพระราชโอรสองค์โตของพระเจ้าเซโจ ได้รับการแต่งตั้งเป็นองค์ชายรัชทายาทในปี ค.ศ. 1455 พระองค์สิ้นพระชมน์เมื่ออายุ 20 ปี จึงมีการพระราชพิธีพระศพและการจัดสร้างพระราชสุสานขึ้นเพื่อให้สมพระเกียรติ พระองค์ได้รับการสถาปนาพระนามเป็นพระเจ้าด็อคจง จากพระเจ้าซองจง ซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ของพระองค์ในปี ค.ศ. 1471

พระมเหสีโซฮเย ได้รับการแต่งตั้งเป็นองค์หญิงรัชทายาทในปี ค.ศ. 1455 เมื่อพระราชโอรสของพระองค์ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าซองจง พระองค์ทรงขึ้นเป็นพระพันปี ทรงพระนามว่าพระพันปีอินซู ทรงแต่งหนังสือชื่อว่า "แนฮุน" (內訓, หนังสือการศึกษาสำหรับผู้หญิง) เพื่อสอนเรื่องมารยาทและธรรมเนียมปฏิบัติสำหรับผู้หญิงและเด็กหญิง พระองค์สิ้นพระชมน์ในรัชสมัยของเจ้าชายย็อนซัน ในขณะดำรงตำแหน่งพระหมื่นปีอินซู เล่ากันว่าสิ้นพระชมน์ภายหลังโดนเจ้าชายย็อนซันทำร้ายรพระวรกายไปไม่กี่วัน เนื่องจากพระองค์ทรงต่อว่าเจ้าชายย็อนซันเกี่ยวกับการแก้แค้นของเจ้าชายย็อนซันต่อพระองค์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสิ้นพระชนม์ของพระมเหสีแจฮยอน ตระกูลยุน ผู้เป็นพระราชมารดาของเจ้าชายย็อนซัน

Changneung Royal tomb, Goyang (昌陵)

This is the royal tomb of the 8th King Yejong (睿宗, 1450-1469) of the Joseon Dynasty and his second lawful wife Queen Ansun (安順王后, ?-1498), from the Han family. King Yejong was the second son of King Sejo and Queen Jeonghui. As the Crown Prince Uigyeong died young, King Yejong ascended the throne at the age of 19, following King Sejo. During his brief reign of 14 months, he suffered from political disturbances, including Nami (南怡)’s death in prison. Fully devoted to his parents, King Yejong lost his health because of the deep grief of losing King Sejo. He completed the Gyeonggukdaejeon (經國大典, Grand Code for State Administration) started from the era of King Sejo. But the distribution was not made during his reign because he died in 1469. Queen Ansun became the Crown Princess, following Queen Jangsun.


Myeongneung Royal tomb, Goyang (明陵)

This is the royal tomb of the 19th King Sukjong (肅宗 1661-1720) of the Joseon Dynasty and his second lawful wife, Queen Inhyeong (仁顯王后 1667-1701) and his third lawful wife, Queen Inwon (仁元王后 1687-1757), from the Gim family. The years of King Sukjong were filled with the greatest turbulence in political power in the history of the Joseon Dynasty, and fierce competition was under way among political factions. However, King Sukjong strengthened royal powers and almost completed the work to restore and improve the overall social systems. Queen Ingyeong, the first lawful wife of King Sukjong, is laid separately in the Ingneung, located inside of the Seooreung. Huibin, from the Jang family, the mother of King Gyeongjong, and Sukbin, from the Choi family, the mother of King Yeongjo, were royal concubines of King Sukjong. Queen Inhyeon became his second lawful wife in 1681. She was dethroned because of a false accusation by Janghuibin (Huibin from the Jang family), but was restored again with the Gapsulhwanguk (甲戌換局, the incident through which the Namin faction lost the power and the Seoron and the Noron factions returned to the government). She died in the 26th year of King Sukjong from an unknown disease. The third lawful wife, Queen Inwon, was installed as Queen in 1702 and died in 1757.


Ingneung Royal tomb, Goyang (翼陵)

This is the royal tomb of Queen Ingyeong (仁敬王后, 1661-1680), from the Gim family. She was the lawful wife of the 19th King Sukjong of the Joseon Dynasty. Queen Ingyeong was chosen to be the Crown Princess in 1670, and was installed as Queen when King Sukjong ascended the throne in 1674. She died of smallpox at the age of 20. She had three princesses, but all three of them (Princess Myeongsun, Myeonghye and Myeongan) did not live long.


Hongneung Royal tomb, Goyang (弘陵)

This is the royal tomb of Queen Jeongseong (貞聖王后, 1692-1757), from the Seo family. She was the lawful wife of the 21st King Yeongjo of the Joseon Dynasty. Queen Jeongseong got married to Prince Yeoning, the second son of King Sukjong, in 1704. She was installed as Queen when Prince Yeoning ascended the throne to be King Yeongjo following the weak and heirless King Gyeongjong. In the records of the Queen’s life, King Yeongjo expressed his gratitude to Queen Jeongseong, saying that she always welcomed him with a smiling face during her entire 43 years of royal residency, and was fully devoted to her superiors. He added that she was not indolent at all and did her utmost to enshrine the ancestral tablet of his birth mother, Sukbin, from the Choi family.


Sunchangwon Royal tomb, Goyang (順昌園)

This is the royal tomb of the Crown Prince Sunhoe (順懷世子, 1551-1563) and his wife, the Crown Princess Gonghoebin (恭懷嬪, ?-1592), from the Yun family. The Crown Prince Sunhoe was a son of the 13th King Myeongjong of the Joseon Dynasty. He was installed as Crown Prince at the age of seven. He had a proposal of marriage with a daughter of Hwang Daeim. As she postponed the marriage for more than one year due to her poor health, the Crown Princess was replaced by a daughter of Yun Ok, and the marriage was made in 1595. Not long after his marriage, the Crown Prince Sunhoe passed away at the age of 13 without an heir. Therefore, a grandson of King Jungjong, Prince Haseong (King Seonjo), succeeded to the royal line following King Myeongjong. The Crown Princess Gonghoebin, from the Yun family, deceased in 1592 (the 25th year of King Seonjo).



Sugyeongwon Royal tomb, Goyang (綏慶園)

This is the tomb of the royal concubine Yeongbin (暎嬪, ?-1764), from the Yi family. She was a royal concubine of the 21st King Yeongjo of the Joseon Dynasty. She entered the palace at a young age and was installed as Yeongbin. She won great favor of King Yeongjo. After having four princesses, she delivered the Crown Prince Sado in 1735, which made King Yeongjo very happy because he was waiting for an heir. She did not lose her resolute attitude even under sad circumstances that the Crown Prince Sado was dethroned and killed in 1762. When she died in 1764 at the age of 69, King Yeongjo felt very sad at her death and held a funeral with the best ceremony for the royal concubine. She was at first entombed in the Sugyeongwon, located in the current Yonsei University. In 1970, her original tomb and the Hongsalmun (紅箭門 a red gate erected in honor of a loyal retainer) were moved to the current place. The tomb is simple and so are stone figures in front of the mound.



Daebinmyo Royal tomb, Goyang (大嬪墓)

This is the royal tomb of Janghuibin, or Huibin (禧嬪, 1659-1701) from the Jang family. She was a royal concubine of the 19th King Sukjong of the Joseon Dynasty and the mother of King Gyeongjong. Janghuibin entered the palace at a young age as a court lady, and won King Sukjong’s favor. In 1686 (the 12th year of King Sukjong), she became Sugwon (淑媛, a rank given to a royal concubine), and delivered Prince Yun (King Gyeongjong) in 1688. In the following year, when King Sukjong invested Prince Yun as a lawful son turning down an objection from Song Siyeol and the Seoin (西人, a faction in the middle of Joseon), she was raised to be the 1st rank lady of a court, Huibin. In the same year, the Namin (南人, a faction separated from the Dongin in the middle of Joseon) came into power with the Gisahwanguk (己巳換局) and Queen Inhyeon (仁顯王后. 1667~1701) was dethroned.


When Prince Yun was invested as the Crown Prince, she was installed as Queen. In 1694, the Namin rose in rebellion with the restoration movement of Queen Inhyeon by the Seoin as a momentum. However, King Sukjong eliminated the Namin and made the Seoin return to power again (甲戌換局, the Gapsulhwanguk). With the restoration of Queen Inhyeon, she was demoted to Huibin. When the Minbi (Queen Myeongseong) died of a disease in 1701, she was impeached by the Seoin for the crime of falsely accusing Queen Inheyon and received poison as a death penalty. Since then, King Sukjong prohibited elevating the Bin (嬪, Royal Concubine) to the Bi (妃, Queen) by law. She was originally entombed in Munhyeong-ri Opo-myeon Gwangju-gun Gyeonggi-do. Her tomb was moved to its current place in 1969.


หัวข้อเพิ่มเติมในเหมือน แก้

ความดิดเห็น


รางวัลผู้กำกับ แก้

ปี รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี
พ.ศ. 2500 (ครั้งที่ 1)
วสันต์ สุนทรปักษิณ
(ทางสายเปลี่ยว)
พ.ศ. 2501 (ครั้งที่ 2)
มารุต
(รักริษยา)
พ.ศ. 2502 (ครั้งที่ 3)
รัตน์ เปสตันยี
(โรงแรมนรก)
พ.ศ. 2503 (ครั้งที่ 4)
วิชัย ปาลวัฒน์วิไชย
(ยอดพยศ)
พ.ศ. 2505 (ครั้งที่ 5)
วิจิตร คุณาวุฒิ
(สายเลือดสายรัก)
พ.ศ. 2506 (ครั้งที่ 6)
วิจิตร คุณาวุฒิ
(ดวงตาสวรรค์)
พ.ศ. 2507 (ครั้งที่ 7)
วิจิตร คุณาวุฒิ
(นางสาวโพระดก)
พ.ศ. 2508 (ครั้งที่ 8)
วิจิตร คุณาวุฒิ
(เสน่ห์บางกอก)


พ.ศ. 2500 - 2509 แก้


รางวัลผู้กำกับ แบบสำรอง แก้

ปี ผู้กำกับ ภาพยนตร์
พ.ศ. 2534
(ครั้งที่1)
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
(คนเลี้ยงช้าง)
คนเลี้ยงช้าง
พ.ศ. 2535
(ครั้งที่2)
บัณฑิต ฤทธิ์ถกล
(อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป)
อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป
พ.ศ. 2536
(ครั้งที่3)
ชูชัย องอาจชัย
(คนแซ่ลี้)
คนแซ่ลี้

รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง แก้

https://www.thairath.co.th/content/502647

แขกรับเชิญ แก้

แขกรับเชิญในรายการรันนิ่งแมนมาจากหลากหลายสาขาอาชีพ เช่น นักแสดง นักร้อง นักกีฬา บางตอนก็มีวงดนตรีหรือวงนักร้องที่มาเป็นแขกรับเชิญพร้อมกันทั้งวง เช่น วงซีเอ็นบลู (ตอนที่ 186) วงชินฮวา (ตอนที่ 236) วงเกิลส์เจเนอเรชัน (ตอนที่ 254) และเคยมีนักแสดงระดับโลกอย่างเฉินหลงมาเป็นแขกรับเชิญในตอนที่ 135 ด้วย รวมถึงอดีตสมาชิกรันนิ่งแมน ซง จุงกิก็กลับมาเป็นแขกรับเชิญในตอนที่ 66 บุคคลที่มาเป็นแขกรับเชิญในตอนที่ 1 คือ อี ฮโยรี นักร้อง และ ฮวาง จองอึม นักแสดง

การดัดแปลงในสื่ออื่น แก้

เรื่องราวของอำแดงเหมือนกับนายริดซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์ได้รับการดัดแปลงในรูปแบบอื่นนอกจากภาพยนตร์อีก 2 ครั้ง ได้แก่ รูปแบบละครโทรทัศน์ใน พ.ศ. 2555 และรูปแบบละครเวทีใน พ.ศ. 2558

ปี พ.ศ. 2537
(ภาพยนตร์)
พ.ศ. 2555
(ละครโทรทัศน์)
พ.ศ. 2558
(ละครเวที)
ออกอากาศทาง/แสดงที่ ไทยพีบีเอส หอประชุมศรีบูรพา (หอประชุมเล็ก)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ผู้ผลิต 9 แสน สตูดิโอ กลุ่มละคอนเวทีคณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผู้กำกับ เชิด ทรงศรี สถาพร นาควิไลโรจน์ กมลภพ คำเพ็ญ
อำแดงเหมือน จินตหรา สุขพัฒน์ อภิญญา สกุลเจริญสุข ไพลิน สุวรรณรักษา
นายริด สันติสุข พรหมศิริ อภิญญา รุ่งพิทักษ์มานะ วนวัฒน์ เวชกิจ
นายภู รณ ฤทธิชัย ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ อิสริยะ พันธุฟัก
นายเกตุ แมน ธีระพล รอน บรรจงสร้าง วาดตะวัน วงศ์รัฐปัญญา
นางนุ่น, นางนุ่ม ดวงดาว จารุจินดา ปวีณา ชารีฟสกุล เพ็ญพิชชา จรรย์โกมล
พระนนทบุรี รุจน์ รณภพ สมภพ เบญจาธิกุล ปณิธาน ใจกล้า
ย่าจัน บรรเจิดศรี ยมาภัย ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา -
นายเปี่ยม พะทำมะรง ชลิต เฟื่องอารมย์ ทองขาว ขุนศรีรักษา -
สมภาร ส.อาสนจินดา สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ -
คุณลออ - มณีรัตน์ คำอ้วน -
ขุนวิเลศสังหาร - ภัทรพล กันตพจน์ -
พระบรรฦๅสิงหนาท - ดิลก ทองวัฒนา -
คุณทับทิม - ชนานา นุตาคม -
นางแฟง - ชุดาภา จันทเขตต์ -
นางสาย - นฤมล พงษ์สุภาพ -
นายแช่ม - ธนายง ว่องตระกูล -
คุณยี่สุ่น - เดือนเต็ม สาลิตุล -
ทองเปลว - เบญจศิริ วัฒนา -
นางจาก - อัจฉรา ทองเทพ -
นางเมี้ยน - นฤมล นิลวรรณ -
แม่ชี - น้ำเงิน บุญหนัก -
อำแดงจัน - - ศุจีพัชร พรพลศรัณย์
อำแดงเย็น - - มิ่งโกมุท ชนะกุล
อำแดงแพง - - ณัฐณิชา พลิกานนท์
จ้อย - - กษิดิ์เดช ศรีตะปัญญะ
อำแดงผึ้ง - - สิรภัทร กิจวิสาละ
อำแดงนวล - - พิมพ์วิไล อินทรตั้ง
นักแสดงรับเชิญ/
นักแสดงสมทบ
เขาทราย แกแล็คซี่
เอกชัย ศรีวิชัย
สุเชาว์ พงษ์วิไล
ธิติมา สังขพิทักษ์
ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
- พิมพ์ชนก เอี่ยนเล่ง
ณัฏฐพิชชา อรุณพัชรสิทธิ์
รุจรวิน เชี่ยวชาญศิลป์
ฐานิสร์ กลิ่นขจร
กริณ สุวรรณศักดิ์

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2555 แก้

Kkaann/กระบะทราย
สร้างโดย9 แสน สตูดิโอ
เขียนโดยบทภาพยนตร์ :
ธม ธาตรี / จันนิภา
สรรัตน์ จิรบวรวิสุทธิ์ (บทโทรทัศน์)
กำกับโดยสถาพร นาควิไลโรจน์
แสดงนำอภิญญา สกุลเจริญสุข
อภิญญา รุ่งพิทักษ์มานะ
ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์
มณีรัตน์ คำอ้วน
ภัทรพล กันตพจน์
รอน บรรจงสร้าง
ปวีณา ชารีฟสกุล
การผลิต
ความยาวตอน19 ตอน (ประมาณ 48 นาที/ตอน)
ออกอากาศ
เครือข่ายสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
ออกอากาศ11 ตุลาคม พ.ศ. 2555 –
14 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ในปี พ.ศ. 2555 สถาพร นาควิลัย ได้นำเรื่องอำแดงเหมือนกับนายริดมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางไทยพีบีเอส ออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2555 และตอนอวสานในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2555 เป็นประจำทุกวันพฤหัสบดี-ศุกร์ เวลา 20.25-21.15 น.[7] นำแสดงโดย อภิญญา สกุลเจริญสุข, อภิญญา รุ่งพิทักษ์มานะ และ ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์

ละครเรื่องนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัลในหลายสถาบัน

รางวัลและการเข้าชิง
ปี รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการตัดสิน
พ.ศ. 2556
รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 6 [8]
ละครโทรทัศน์แห่งปี ละครเรื่อง "อำแดงเหมือนกับนายริด" ชนะ
รางวัลเมขลา ครั้งที่ 25 [9]
(ประเภทเมขลามหานิยม)
ละครเมขลามหานิยมแห่งปี ละครเรื่อง "อำแดงเหมือนกับนายริด" เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้กำกับเมขลามหานิยมแห่งปี สถาพร นาควิไลโรจน์ เสนอชื่อเข้าชิง
ดารานำหญิงเมขลามหานิยมแห่งปี อภิญญา สกุลเจริญสุข เสนอชื่อเข้าชิง
ดาราสมทบหญิงเมขลามหานิยมแห่งปี ชุดาภา จันทเขตต์ เสนอชื่อเข้าชิง
บทละครเมขลามหานิยมแห่งปี สรรัตน์ จิรบวรวิสุทธิ์ เสนอชื่อเข้าชิง
องค์ประกอบศิลป์เมขลามหานิยมแห่งปี เสนอชื่อเข้าชิง
เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายเมขลามหานิยมแห่งปี เสนอชื่อเข้าชิง
แต่งหน้า-ทำผมเมขลามหานิยมแห่งปี เสนอชื่อเข้าชิง
รางวัลเมขลา ครั้งที่ 25
(ประเภทมณีเมขลาดีเด่น)
ละครดีเด่นยอดนิยม ละครเรื่อง "อำแดงเหมือนกับนายริด" ชนะ
ดารานำหญิงดีเด่นยอดนิยม อภิญญา สกุลเจริญสุข ชนะ
ดาวรุ่งชายดีเด่นยอดนิยม อภิญญา รุ่งพิทักษ์มานะ เสนอชื่อเข้าชิง
ละครส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมดีเด่นยอดนิยม ละครเรื่อง "อำแดงเหมือนกับนายริด" เสนอชื่อเข้าชิง
รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10 [10]
ละครโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ละครเรื่อง "อำแดงเหมือนกับนายริด" เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้กำกับละครโทรทัศน์ยอดเยี่ยม สถาพร นาควิไลโรจน์ เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม อภิญญา สกุลเจริญสุข เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม รอน บรรจงสร้าง เสนอชื่อเข้าชิง
บทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม สถาพร นาควิไลโรจน์ เสนอชื่อเข้าชิง

ละครเวที พ.ศ. 2558 แก้

พ.ศ. 2558 ละครเวทีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้นำเรื่อง อำแดงเหมือนกับนายริด มานำเสนอในรูปแบบของละครเวทีเป็นครั้งแรกภายใต้ชื่อเรื่องว่า "เหมือน" ซึ่งเป็นการตีความในมุมมองของนักศึกษากฎหมาย ละครเวทีเรื่อง"เหมือน" จัดแสดงระหว่างวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2558 ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์[11] นำแสดงโดย ไพลิน สุวรรณรักษา, วนวัฒน์ เวชกิจ และ อิสริยะ พันธุฟัก

  1. "What are the differences between neung, won and myo?". สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "Jangneung (長陵) (Located in Paju, Gyeonggi-do) [UNESCO World Heritage] 파주 장릉 [유네스코 세계문화유산]". สืบค้นเมื่อ 21 มกราคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "Olleung [UNESCO World Heritage] (양주 온릉 [유네스코 세계문화유산])". สืบค้นเมื่อ 21 มกราคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "Tomb of Hyochangwon and Uiryeongwon". สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "Yeongneung / Nyeongneung Royal Tomb [UNESCO World Heritage] (여주 영릉(英陵)과 영릉(寧陵))". สืบค้นเมื่อ 21 มกราคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "Royal Tombs to Be Listed as World Heritage Site". Chosun Ilbo. 2009-05-14. สืบค้นเมื่อ 2015-11-24.
  7. ละคร อำแดงเหมือนกับนายริด (2555)
  8. ผลรางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ 2013
  9. งานประกาศผลรางวัลพระสุรัสวดีและเมขลา ประจำปี 2555
  10. ประกาศผลรางวัล “คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10”
  11. [1]