กูเกิล แปลภาษา
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
กูเกิลแปลภาษา (อังกฤษ: Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล
![]() | |
![]() | |
ประเภท | บริการแปลภาษาด้วยเครื่องจักร |
---|---|
ภาษาที่ใช้ได้ | 103 ภาษา (ดูในส่วนของ ภาษาที่รองรับ |
เจ้าของ | กูเกิล |
ยูอาร์แอล | translate |
เชิงพาณิชย์ | ใช่ |
ลงทะเบียน | ไม่จำเป็น |
ผู้ใช้ | มากกว่า 200+ ล้านคน[1] |
เปิดตัว | 28 เมษายน 2006[2] 22 ตุลาคม 2007[3] |
สถานะปัจจุบัน | เปิดให้บริการ |
กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator
การทำงานแก้ไข
ส่วนนี้ต้องเรียบเรียงภาษาใหม่ หรือต้องพิสูจน์อักษร |
การบริการยังครอบคลุมถึงการแปลหน้าเว็บเพจทั้งหน้าด้วย ทว่า การแปลถูกจำกัดจำนวนย่อหน้าที่ให้แปลในแต่ละหน้า (เช่น การใช้แท็กขึ้นบรรทัดใหม่ <br>
) แต่ถ้าเกิดว่า ข้อความบนเว็บเพจถูกแบ่งโดยภาพเส้นเปล่าแนวนอน (ไม่มีการใช้โค้ด <br>
) เว็บเพจที่มีเนื้อหามาก ๆ ก็อาจจะถูกแปลได้ โดยที่มีคำมากกว่าหนึ่งพันคำ
กูเกิลแปลภาษา มีการจำกัดการแปล ซึ่งไม่เหมือนบริการอื่น ๆ ขณะที่มันช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาโดยทั่วไปของข้อความภาษาต่างประเทศ บริการนี้ก็ไม่ได้ให้การแปลที่ถูกต้องแม่นยำ และนอกจากนี้มันยังแปลข้อความในบางครั้งผิดความหมาย และผิดหลักไวยากรณ์
ภาษาที่รองรับแก้ไข
รายชื่อภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่มีในกูเกิลแปลภาษา.[4]
- อาฟรีกานส์
- แอลเบเนีย
- อัมฮาริก
- อาหรับ
- อาร์มีเนีย
- อาเซอร์ไบจาน
- เบงกอล
- บาสก์
- เบลารุส
- เบงกอล
- บอสเนีย
- บัลแกเรีย
- พม่า
- กาตาลา
- เซบัวโน
- ชิเชวา
- จีนตัวย่อ
- จีนตัวเต็ม
- คอร์ซิกา
- โครเอเชีย
- เช็ก
- เดนมาร์ก
- ดัตช์
- อังกฤษ
- เอสเปรันโต
- เอสโตเนีย
- ฟิลิปีโน
- ฟินแลนด์
- ฝรั่งเศส
- กาลิเซีย
- จอร์เจีย
- เยอรมัน
- กรีก
- คุชราต
- ครีโอลเฮติ
- เฮาซา
- ฮาวาย
- ฮีบรู
- ฮินดี
- ม้ง
- ฮังการี
- ไอซ์แลนด์
- อิกโบ
- อินโดนีเซีย
- ไอริช
- อิตาลี
- ญี่ปุ่น
- ชวา
- กันนาดา
- คาซัค
- เขมร
- เกาหลี
- เคิร์ด (เคิร์ดเหนือ)
- คีร์กีซ
- ลาว
- ละติน
- ลัตเวีย
- ลิทัวเนีย
- ลักเซมเบิร์ก
- มาซิโดเนีย
- มาลากาซี
- มลายู
- มลยาฬัม
- มอลตา
- เมารี
- มราฐี
- มองโกเลีย
- เนปาล
- นอร์เวย์ (Bokmål)
- Nyanja
- ปาทาน
- เปอร์เซีย
- โปแลนด์
- โปรตุเกส
- ปัญจาบ
- โรมาเนีย
- รัสเซีย
- ซามัว
- Scots Gaelic
- เซอร์เบีย
- โชนา
- สินธี
- สิงหล
- สโลวัก
- สโลวีเนีย
- โซมาลี
- โซโธใต้
- สเปน
- ซุนดา
- สวาฮีลี
- สวีเดน
- ทาจิก
- ทมิฬ
- เตลูกู
- ไทย
- ตุรกี
- ยูเครน
- อูรดู
- อุซเบก
- เวียดนาม
- เวลส์
- ฟรีเชีย
- Xhosa
- ยิดดิช
- โยรูบา
- ซูลู
- เริ่มแรก
- ขั้นที่ 2
- อังกฤษ - โปรตุเกส
- โปรตุเกส - อังกฤษ
- ขั้นที่ 3
- อังกฤษ - อิตาลี
- อิตาลี - อังกฤษ
- ขั้นที่ 4
- อังกฤษ - จีน (ตัวย่อ) บีตา
- อังกฤษ - ญี่ปุ่น บีตา
- อังกฤษ - เกาหลี บีตา
- จีน (ตัวย่อ) บีตา - อังกฤษ บีตา
- ญี่ปุ่น - อังกฤษ บีตา
- เกาหลี - อังกฤษ บีตา
- ขั้นที่ 5
- อังกฤษ - รัสเซีย บีตา
- รัสเซีย - อังกฤษ บีตา
- ขั้นที่ 6
- อังกฤษ - อาหรับ บีตา
- อาหรับ - อังกฤษ บีตา
- ขั้นที่ 7 (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550)
- อังกฤษ - จีน (ตัวเต็ม) บีตา
- จีน (ตัวเต็ม) - อังกฤษ บีตา
- จีน (ตัวเต็ม) - จีน (ตัวย่อ) บีตา
- จีน (ตัวย่อ) - จีน (ตัวเต็ม) บีตา
- ขั้นที่ 8 (ตุลาคม พ.ศ. 2550)
- คู่ภาษาทั้งหมด 25 คู่ ใช้ระบบการแปลของกูเกิล
- ขั้นที่ 9
- อังกฤษ - ฮินดี บีตา
- ฮินดี - อังกฤษ บีตา
- ขั้นที่ 10 (ในขั้นนี้ การแปลสามารถทำได้ระหว่างคู่ภาษาอะไรก็ได้ 2 คู่)
- ขั้นที่ 11 (25 กันยายน พ.ศ. 2551)
- ขั้นที่ 13 (19 มิถุนายน พ.ศ. 2552)
- ขั้นที่ 14 (24 สิงหาคม พ.ศ. 2552)
- ขั้นที่ 15 (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552)
- ระยะทดสอบสิ้นสุดลงแล้ว ผู้ใช้สามารถเลือกโหมดการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาจีน ญี่ปุ่น เกาหลี รัสเซีย ยูเครน เบลารุส บัลแกเรีย กรีก ฮินดี และไทยได้แล้ว สำหรับการแปลจากภาษาอาหรับ เปอร์เซียและฮินดี ผู้ใช้สามารถป้อนข้อความที่ถูกถอดเป็นอักษรโรมันได้ และอักษรโรมันที่ป้อนเข้าไปนี้จะถูกแปลงเป็นอักษรที่ถูกต้องสำหรับภาษาเหล่านี้ตามที่ผู้ใช้ได้กำหนดไว้ โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสามารถใช้ได้ในภาษาอังกฤษ อิตาลี ฝรั่งเศสและเยอรมัน
- ขั้นที่ 16 (30 มกราคม พ.ศ. 2553)
- เฮติ (สำหรับแผ่นดินไหวเฮติ)
- ขั้นที่ 17 (เมษายน พ.ศ. 2553)
- โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสามารถใช้ได้ในภาษาฮินดีและสเปนแล้ว
- ขั้นที่ 18 (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2553)
- ขั้นที่ 19 (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2553)
- ขั้นที่ 20 (มิถุนายน พ.ศ. 2553)
- รองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาอาหรับ
- ขั้นที่ 21 (กันยายน พ.ศ. 2553)
- ขั้นที่ 22 (ธันวาคม พ.ศ. 2553)
- หยุดรองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาอาหรับ
- เพิ่มตัวตรวจสอบการสะกดแล้ว
- กูเกิลได้แทนที่โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสำหรับบางภาษา โดยเปลี่ยนจากเทคโนโลยีของ eSpeak ที่ให้เสียงคล้ายหุ่นยนต์ มาเป็นแบบเสียงธรรมชาติจากเจ้าของภาษา ที่ใช้เทคโนโลยีของ [[SVOX][7] (ภาษาจีน เช็ก เดนมาร์ก ดัตช์ ฟินแลนด์ กรีก ฮังการี นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส รัสเซีย สวีเดน ตุรกี) รวมถึงภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี และสเปนด้วย ส่วนภาษาละตินจะใช้โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดตัวเดียวกับที่ใช้สำหรับภาษาอิตาลี
- การสังเคราะห์เสียงพูดสามารถใช้ในภาษาอาหรับ ญี่ปุ่น และเกาหลีได้แล้ว
- ขั้นที่ 23 (มกราคม พ.ศ. 2554)
- สามารถดูตัวเลือกของคำแปลอื่น ๆ สำหรับคำหนึ่งได้แล้ว
- ขั้นที่ 24 (มิถุนายน พ.ศ. 2554)
- ขั้นที่ 25 (กรกฎาคม พ.ศ. 2554)
- เพิ่มตัวเลือกสำหรับให้คะแนนคำแปล
- ขั้นที่ 26 (มกราคม พ.ศ. 2555)
- โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสำหรับภาษาดัตช์เปลี่ยนจากแบบผู้ชายเป็นแบบผู้หญิงแล้ว
- เปลี่ยนเสียงสังเคราะห์ในภาษาสโลวัก จากเดิมที่ใช้เทคโนโลยีของ eSpeak มาเป็นเสียงสังเคราะห์ที่ชื่อว่า Elena ที่ใช้เทคโนโลยีของ SVOX แทน
- รองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษายิดดิช
- ขั้นที่ 27 (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555)
- รองรับการสังเคราะห์เสียงพูดสำหรับภาษาไทย
- เอสเปรันโต[9]
- ขั้นที่ 28 (กันยายน พ.ศ. 2555)
- ขั้นที่ 30 (ตุลาคม พ.ศ. 2555)
- ใช้โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดแบบใหม่สำหรับภาษาอังกฤษ
- ขั้นที่ 31 (พฤศจิกายน พ.ศ. 2555)
- ใช้โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดแบบใหม่สำหรับภาษาฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมัน
- ขั้นที่ 32 (มีนาคม พ.ศ. 2556)
- เพิ่มคุณลักษณะใหม่ที่ชื่อว่า Phrasebook
- ขั้นที่ 33 (มีนาคม พ.ศ. 2556)
- ขั้นที่ 35 (พฤษภาคม พ.ศ. 2556)
- 16 ภาษาเพิ่มเติมสำหรับป้อนข้อมูลโดยใช้กล่องส่องข้อความได้แล้ว: บัลแกเรีย คะตะลัน โครเอเชีย เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฮังการี อินโดนีเซีย ไอซ์แลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนีย นอร์เวย์ โรมาเนีย สโลวัก และสวีเดน
- ขั้นที่ 37 (มิถุนายน พ.ศ. 2557)
- เพิ่มการรองรับการบอกความหมายของคำที่ผู้ใช้ป้อน
- ขั้นที่ 39 (ตุลาคม พ.ศ. 2558)
- กลับมารองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาอาหรับอีกครั้ง
- ขั้นที่ 40 (พฤศจิกายน พ.ศ. 2558)
- ขั้นที่ 41 (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559)
- รองรับเพิ่มอีก 13 ภาษา (สินธี, ปาทาน, อัมฮาริก, คอร์ซิกา, ฟรีเซียน, คีร์กีซ, ฮาวาย, เคิร์ด (ภาษาเคิร์ดเหนือ), ลักเซมเบิร์ก, ซามัว, สกอต แกลิก, โชนา และโซซา).[12][13][14][15]
- ออเรเบชถูกลบออกไป.
- ใช้โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดแบบใหม่สำหรับภาษาเบงกอล.
- อัมฮาริก
- คอร์ซิกา
- ฮาวาย
- เคิร์ด (กุรมันชี)
- คีร์กีซ
- ลักเซมเบิร์ก
- ปาทาน
- ซามัว
- สกอต แกลิก
- โชนา
- สินธี[16][17][18][19]
- ฟรีเซียนตะวันตก
- โซซา[20][21][22][23]
- ขั้นที่ 42 (กันยายน ค.ศ.2016)
- เสียงพูดสำหรับภาษายูเครน
- ขั้นที่ 43 (ธันวาคม ค.ศ. 2016)
- เสียงพูดสำหรับภาษาเขมรและสิงหล
ดูเพิ่มแก้ไข
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ Shankland, Stephen. "Google Translate now serves 200 million people daily". CNET. สืบค้นเมื่อ 17 October 2014.
- ↑ "Research Blog: Statistical machine translation live". Google Research Blogspot. 2006-04-28. สืบค้นเมื่อ 2016-03-11.
- ↑ "Google Switches to Its Own Translation System". Google System Blogspot. 2007-10-22. สืบค้นเมื่อ 2016-03-11.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อsupportedlanguages
- ↑ Henderson, Fergus (November 5, 2010). "Giving a voice to more languages on Google Translate". Google Blog. สืบค้นเมื่อ December 22, 2011.
- ↑ Jakob Uszkoreit, Ingeniarius Programmandi (September 30, 2010). "Veni, Vidi, Verba Verti". Google Blog. สืบค้นเมื่อ December 22, 2011.
- ↑ "SVOX". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-26. สืบค้นเมื่อ 2016-04-29.
- ↑ "Google Translate welcomes you to the Indic web". Google Translate Blog.
- ↑ Google Translate Blog: Tutmonda helplingvo por ĉiuj homoj
- ↑ Brants, Thorsten (September 13, 2012). "Translating Lao". Google Translate Blog. สืบค้นเมื่อ September 19, 2012.
- ↑ Crum, Chris (September 13, 2012). "Google Adds its 65th Language to Google Translate with Lao". WebProNews. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-30. สืบค้นเมื่อ September 19, 2012.
- ↑ http://www.dailymail.co.uk/sciencetech/article-3453035/Aloha-Google-adds-13-new-languages-Translate-tool-including-Scots-Gaelic-Hawaiian-taking-total-103.html
- ↑ http://www.dnaindia.com//scitech/report-google-adds-sindhi-to-its-translate-language-options-2179229
- ↑ https://in.news.yahoo.com/google-adds-sindhi-translate-language-options-113113260.html
- ↑ http://www.brecorder.com/arts-a-leisure/lifestyle/279458-google-translate-now-includes-sindhi-and-pashto.html
- ↑ http://www.dawn.com/news/1240589
- ↑ http://www.dailysarwan.com/editorial/%DA%AF%D9%88%DA%AF%D9%84-%D8%AA%D9%8A-%D8%B3%D9%86%DA%8C%D9%8A-%D9%BB%D9%88%D9%84%D9%8A/
- ↑ http://awamiawaz.com/%D8%B3%D9%86%DA%8C%D9%8A-104-%D9%BB%D9%88%D9%84%D9%8A%D9%86-%DB%BE-%D8%AA%D8%B1%D8%AC%D9%85%D9%88-%D9%BF%D9%8A%D9%86%D8%AF%DA%99-%D9%BB%D9%88%D9%84%D9%8A-%D8%A8%DA%BB%D8%AC%D9%8A-%D9%88%D9%8A%D8%A6/
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-06. สืบค้นเมื่อ 2016-04-29.
- ↑ Bell, Lee (February 18, 2016). "Google Translate app now lets 99% of world population translate speech". Mail Online. สืบค้นเมื่อ August 10, 2016.
- ↑ "Google adds Sindhi to its translate language options | Latest News & Updates at Daily News & Analysis". DNA India. Diligent Media Corporation Ltd. February 18, 2016. สืบค้นเมื่อ August 10, 2016.
- ↑ "Google adds Sindhi to its translate language options". Yahoo! News. Asian News International. February 18, 2016. สืบค้นเมื่อ August 10, 2016.
- ↑ Ahmed, Ali (February 18, 2016). "Google Translate now includes Sindhi and Pashto". Business Recorder. สืบค้นเมื่อ August 10, 2016.
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
- Google แปลภาษา (อังกฤษ)
- Bing Translator
- 4 สุดยอดเครื่องมือแปลภาษาอังกฤษเป็นไทยที่ควรมีติดตัวไว้[ลิงก์เสีย]
- Teach You Backwards: An In-Depth Study of Google Translate for 103 Languages
บทความเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือ เว็บแอปพลิเคชันนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |