ภาษาแอลเบเนีย
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ภาษาแอลเบเนีย (แอลเบเนีย: shqip, ออกเสียง [ʃcip]; หรือ gjuha shqipe, ออกเสียง [ˈɟuha ˈʃcipɛ]) เป็นภาษาที่พูดโดยมากกว่า 6 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศแอลเบเนีย รวมถึงประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคบอลข่านด้วย โดยพวกผู้อพยพในประเทศอิตาลีและประเทศตุรกี เป็นสาขาของตัวเองในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
แอลเบเนีย | |
---|---|
Shqip | |
ออกเสียง | /ʃcip/ |
ประเทศที่มีการพูด | แอลเบเนีย, คอซอวอ, กรีซ, อิตาลี, มอนเตเนโกร, มาซิโดเนียเหนือ, เซอร์เบีย, ตุรกี |
ชาติพันธุ์ | ชาวแอลเบเนีย |
จำนวนผู้พูด | 6,169,000 (Ethnologue, พ.ศ. 2543) (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | อินโด-ยูโรเปียน
|
รูปแบบก่อนหน้า | ภาษาแอลเบเนียดั้งเดิม
|
ภาษาถิ่น |
อิสเตรีย †
|
ระบบการเขียน | อักษรละติน (ชุดตัวอักษรแอลเบเนีย) |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | ![]() ![]() ![]() ![]() |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | ![]() ![]() ![]() ![]() |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | sq |
ISO 639-2 | alb (B) sqi (T) |
ISO 639-3 | sqi – รหัสรวม รหัสเอกเทศ: aae — ภาษาอาร์เบอเรช aat — ภาษาอาร์วานิติก aln — ภาษาเกก als — ภาษาทอสก์ |
Linguasphere | 55-AAA-aaa ถึง 55-AAA-ahe (25 วิธภาษา) |
![]() |
การกระจายตามเขตภูมิศาสตร์ แก้
ภาษาแอลเบเนียมีผู้พูดประมาณหกล้านคนในภูมิภาคบอลข่าน ส่วนมากในประเทศแอลเบเนีย คอซอวอ มาซิโดเนียเหนือ เซอร์เบีย มอนเตเนโกร และกรีซ[6] อย่างไรก็ตาม การที่มีชุมชนเก่าแก่ในอิตาลีและชาวชาวแอลเบเนียพลัดถิ่นเลยทำให้จำนวนผู้พูดภาษาแอลเบเนียทั่วโลกมากกว่าที่มีอยู่ในยุโรปตอนใต้และจำนวนผู้พูดคิดเป็นประมาณ 7.5 ล้านคน[6][7]
ในทวีปยุโรป แก้
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในทวีปอเมริกา แก้
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในทวีปโอเชียเนีย แก้
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตัวอักษร แก้
ตัวอักษรในภาษาแอลเบเนีย มีอยู่ 36 ตัวอักษร ดังนี้
ตัวอักษร: | A | B | C | Ç | D | Dh | E | Ë | F | G | Gj | H | I | J | K | L | Ll | M | N | Nj | O | P | Q | R | Rr | S | Sh | T | Th | U | V | X | Xh | Y | Z | Zh |
IPA: | a | b | ts | tʃ | d | ð | ɛ | ə | f | g | ɟ | h | i | j | k | l | ɫ | m | n | ɲ | ɔ | p | c | ɾ | r | s | ʃ | t | θ | u | v | dz | dʒ | y | z | ʒ |
หมายเหตุ แก้
- ↑ เป็นภาษาราชการร่วม
อ้างอิง แก้
- ↑ "Language and alphabet Article 13". Constitution of Montenegro. WIPO. 19 October 2007.
Serbian, Bosnian, Albanian and Croatian shall also be in the official use.
- ↑ Franceschini 2014, pp. 533–534 [1]
- ↑ "Application of the Charter in Serbia" (PDF). European Charter for Regional or Minority Languages. 11 June 2013. pp. 4–5, 9.
- ↑ Franceschini, Rita (2014). "Italy and the Italian-Speaking Regions". ใน Fäcke, Christiane (บ.ก.). Manual of Language Acquisition. Walter de Gruyter GmbH. p. 546. ISBN 9783110394146.
- ↑ "Reservations and Declarations for Treaty No.148 – European Charter for Regional or Minority Languages". Council of Europe. Council of Europe. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2015. สืบค้นเมื่อ 3 December 2015.
- ↑ 6.0 6.1 Rusakov 2017, p. 552.
- ↑ Klein, Jared; Brian, Joseph; Fritz, Matthias (2018). Handbook of Comparative and Historical Indo-European Linguistics. Walter de Gruyter. p. 1800. ISBN 9783110542431.