ภาษาอามารา
ภาษาอามารา (อามารา: አማርኛ) เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใต้ที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 32 ล้านคน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศเอธิโอเปีย ภาษาอามาราเป็นภาษาราชการในประเทศเอธิโอเปีย[3]
ภาษาอามารา | |
---|---|
አማርኛ | |
ออกเสียง | [amarɨɲːa] |
ประเทศที่มีการพูด | เอธิโอเปีย |
ชาติพันธุ์ | ชาวอามารา |
จำนวนผู้พูด | 32,000,000[1] (2018) ผู้พูดเป็นภาษาที่สอง: 25,000,000[1] |
ตระกูลภาษา | แอโฟรเอชีแอติก
|
ระบบการเขียน | อักษรกืออึซ (ชุดตัวหนังสือพยางค์อามารา) อักษรเบรลล์กืออึซ |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | เอธิโอเปีย[2] |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | am |
ISO 639-2 | amh |
ISO 639-3 | amh |
Linguasphere | 12-ACB-a |
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Eberhard, David M.; Simons, Gary F.; Fennig, Charles D., บ.ก. (2021). Amharic. Ethnologue: Languages of the World (Eighteenth ed.). Dallas, Texas: SIL International. สืบค้นเมื่อ 2 March 2021.
- ↑ Shaban, Abdurahman. "One to five: Ethiopia gets four new federal working languages". Africa News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-15. สืบค้นเมื่อ 2022-04-17.
- ↑ Meyer, Ronny (2011). "The Role of Amharic as a National Language and an African lingua franca". ใน Stefan Weninger (บ.ก.). The Semitic Languages. Berlin: De Gruyter Mouton. pp. 1212–1220.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาอามารา
- แป้นพิมพ์อามาราออนไลน์ (และออฟไลน์ด้วย): type 1 และ type 2
- แบบอักษรสำหรับอักษรเอธิโอเปีย:
- Noto Serif Ethiopic
- Abyssinica SIL (Character set support เก็บถาวร 2021-12-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน)
- Selected Annotated Bibliography on Amharic โดย Grover Hudson at the Michigan State University เว็บไซต์.
- US State Dept. FSI Amharic course