อักษรกืออึซ

(เปลี่ยนทางจาก อักษรเอธิโอเปีย)

อักษรกืออึซ (Ge'ez) หรือ อักษรเอธิโอเปีย พัฒนามาจากอักษรซาบาเอียน จารึกอักษรนี้ พบครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 43 โดยเริ่มแรกมีแต่พยัญชนะ เริ่มมีสระเมื่อประมาณพ.ศ. 1900 ในรัชกาลของกษัตริย์อีซานา

อักษรกืออึซ
ชนิด
ช่วงยุค
  • ศตวรรษที่ 9 –8 ก่อนคริสตกาล จนถึงปัจจุบัน
  • (เคยเป็นอักษรไร้สระจนถึงประมาณ ค.ศ.330)
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษากลุ่มเซมิติกเอธิโอเปีย (เช่น ภาษากืออึซ, ภาษาอามารา, ภาษาทือกรึญญา, ภาษาทือเกร, ภาษาแฮแรรี เป็นต้น), Blin, Meʼen, Oromo และAnuak
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
Amharic alphabet, และภาษาอื่นๆ ในเอธิโอเปียและเอริเทรีย
ISO 15924
ISO 15924Ethi (430), ​Ethiopic (Geʻez)
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Ethiopic
ช่วงยูนิโคด
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ
อักษรกืออึซ

ลักษณะ

แก้

เขียนจากซ้ายไปขวา แนวนอน เครื่องหมายแต่ละตัว แสดงเสียงสระประสมกับพยัญชนะ เครื่องหมายพื้นฐาน มีวิธีใช้หลายวิธี เพื่อแสดงเสียงสระต่างๆ ไม่มีระบบถ่ายเสียงเป็นอักษรโรมันที่แน่นอน

ใช้เขียน

แก้

ยูนิโคด

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  1. Himelfarb, Elizabeth J. "First Alphabet Found in Egypt", Archaeology 53, Issue 1 (Jan./Feb. 2000): 21.
  2. Daniels, Peter T.; Bright, William, บ.ก. (1996). The World's Writing Systems. Oxford University Press, Inc. pp. 89, 98, 569–570. ISBN 978-0-19-507993-7.
  3. Gragg, Gene (2004). "Geʽez (Aksum)". ใน Woodard, Roger D. (บ.ก.). The Cambridge Encyclopedia of the World's Ancient Languages. Cambridge University Press. p. 431. ISBN 978-0-521-56256-0.