รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้

ธรรมเนียมพระยศของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ธงประจำพระอิสริยยศ
ตราประจำพระองค์
การทูลใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
การแทนตนข้าพระพุทธเจ้า
การขานรับพระพุทธเจ้าข้า/เพคะ

พระบรมราชอิสริยยศ แก้

  • พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ (20 กันยายน พ.ศ. 2396 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2404)
  • สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ (21 มีนาคม พ.ศ. 2404 - 15 มีนาคม พ.ศ. 2410)
  • สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ (15 มีนาคม พ.ศ. 2410 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411)
  • พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416)
  • พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 - ปัจจุบัน)

พระยศทางทหาร แก้

พระราชสมัญญานาม แก้

พระองค์ได้รับการถวายพระสมัญญานามว่า"พระปิยมหาราช" แปลว่า มหาราชผู้ทรงเป็นที่รัก, "พระพุทธเจ้าหลวง", พระบิดาแห่งการปฏิรูปข้าวไทย[3] และ พระบิดาแห่งการถ่ายภาพไทย[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้

พระราชสัญลักษณ์ในฐานะสมาชิกแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์เซราฟีม

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ แก้

ประเทศ ปีที่ได้รับ เครื่องอิสริยาภรณ์ แพรแถบ อ้างอิง
  ออสเตรีย-ฮังการี พ.ศ. 2412 เครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญสเทเฟน ชั้นที่ 1  
  ญี่ปุ่น พ.ศ. 2430 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ ชั้นสังวาล   [5]
  เดนมาร์ก พ.ศ. 2430 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้าง   [6]
  อิตาลี พ.ศ. 2430 เครื่องอิสริยาภรณ์นักบุญมอริซและลาซารัส   [7]
  รัสเซีย พ.ศ. 2434 เครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญอันดรูว์   [8]
  อิตาลี พ.ศ. 2435 เครื่องอิสริยาภรณ์แม่พระรับสาร   [7]
  เยอรมนี พ.ศ. 2440 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อินทรีดำ  
  สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ พ.ศ. 2427 เครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญโอลาฟ ชั้นประถมาภรณ์   [9]
  บริเตนใหญ่ พ.ศ. 2421 เครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญไมเคิลและจอร์จ   [10]

พระบรมราชานุสรณ์ แก้

ในประเทศ แก้

พระบรมราชานุสาวรีย์ แก้

กรุงเทพมหานคร แก้
ส่วนภูมิภาค แก้

สถานที่ แก้

คมนาคม แก้
สถาบันการศึกษา แก้
สถานที่อื่น ๆ แก้

ต่างประเทศ แก้

อิสริยาภรณ์ แก้

อื่น ๆ แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-14. สืบค้นเมื่อ 2019-03-14.
  2. https://www.navy.mi.th/index.php/history/detail/history_id/14
  3. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/247/1.PDF
  4. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00155197.PDF
  5. ราชกิจจานุเบกษา, เจ้าญี่ปุ่นเฝ้าทูลลอองธุลีพระบาท, เล่ม ๔, ตอน ๓๒, ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๐, หน้า ๒๕๗
  6. ราชกิจจานุเบกษา, ผู้แทนกงสุลเยเนอราลเดนมากเฝ้าทูลละอองธุลพระบาทถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘, ตอน ๕๒, ๒๗ มีนาคม ค.ศ.๑๘๙๑, หน้า ๔๗๐
  7. 7.0 7.1 ราชกิจจานุเบกษา, ราชทูตอิตาลีเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-06-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๙, ตอน ๓๐, ๒๓ ตุลาคม ค.ศ.๑๘๙๒, หน้า ๒๔๙
  8. ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวทูตรุสเซียฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-06-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘, ตอน ๑๖, ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๔, หน้า ๑๔๒
  9. Norges Statskalender (ภาษานอร์เวย์), 1890, pp. 595–596, สืบค้นเมื่อ 2018-01-06 – โดยทาง runeberg.org
  10. Shaw, Wm. A. (1906) The Knights of England, I, London, p. 338