จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน689,069
ผู้ใช้สิทธิ74.14%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ เพื่อไทย อนาคตใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 115,479 89,330 97,947
% 24.79 19.17 21.02

  Fourth party
 
พรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 3
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3
คะแนนเสียง 100,574
% 21.59

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

ภาพรวม แก้

แบ่งตามพรรค แก้

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 5 115,479 24.79% 2  2 40.00%
เพื่อไทย 3 89,330 19.17% 2   40.00%
อนาคตใหม่ 5 97,947 21.02% 1  1 20.00%
ประชาธิปัตย์ 5 100,574 21.59% 0  3 0.00%
อื่น ๆ 146 62,574 13.43% 0   0.00%
ผลรวม 164 465,904 100.00% 5   100.00%
คะแนนเสียง
พลังประชารัฐ
  
24.79%
เพื่อไทย
  
19.17%
อนาคตใหม่
  
21.02%
ประชาธิปัตย์
  
21.59%
อื่น ๆ
  
13.43%
ที่นั่ง
พลังประชารัฐ
  
40.00%
เพื่อไทย
  
40.00%
อนาคตใหม่
  
20.00%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า แก้

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554 แก้

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 115,479 24.79%  24.79%
เพื่อไทย 176,581 40.71% 89,330 19.17%  21.54%
อนาคตใหม่ 97,947 21.02%  21.02%
ประชาธิปัตย์ 210,840 48.61% 100,574 21.59%  27.02%
อื่น ๆ 46,351 10.68% 62,574 13.43%  2.75%
ผลรวม 433,772 100.00% 465,904 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554 แก้

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 115,479 24.79%  24.79%
เพื่อไทย 172,594 40.73% 89,330 19.17%  21.56%
อนาคตใหม่ 97,947 21.02%  21.02%
ประชาธิปัตย์ 214,399 50.59% 100,574 21.59%  29.00%
อื่น ๆ 36,813 8.69% 62,574 13.43%  4.74%
ผลรวม 423,806 100.00% 465,904 100.00%

แบ่งตามเขต แก้

เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ เพื่อไทย อนาคตใหม่ ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 23,682 24.80% 35,579 37.26% 18,613 19.49% 17,612 18.45% 95,486 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 2 27,603 27.67% 32,965 33.05% 14,725 14.76% 14,680 14.72% 9,769 9.80% 99,742 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 3 25,207 29.08% 18,820 21.71% 25,003 28.85% 17,642 20.36% 86,672 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 4 10,035 10.69% 40,252 42.87% 18,180 19.36% 17,276 18.40% 8,156 8.68% 93,899 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 5 28,952 32.13% 16,113 17.88% 10,643 11.81% 25,002 27.75% 9,395 10.43% 90,105 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 115,479 24.79% 89,330 19.17% 97,947 21.02% 100,574 21.59% 62,574 13.43% 465,904 100.00%

เขตเลือกตั้ง แก้

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลท่าทอง ตำบลบึงพระ ตำบลวัดพริกและตำบลวังน้ำคู้)

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายปดิพัทธ์ สันติภาดา ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2563 [2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ ปดิพัทธ์ สันติภาดา (2) 35,579 37.26
พลังประชารัฐ เศรษฐา กิตติจารุรักษ์ (17) 23,682 24.80
ประชาธิปัตย์ วรงค์ เดชกิจวิกรม (5)* 18,613 19.49
เสรีรวมไทย วิเชียร น้อยน้ำใส (3) 5,114 5.36
เศรษฐกิจใหม่ พลอากาศตรี ฉลอง จันทะโก (20) 2,762 2.89
ภูมิใจไทย คณาธิป นาทิพย์ (13) 2,184 2.29
เพื่อชาติ ลัดดา พ่วงไพบูลย์ (16) 1,608 1.68
พลังปวงชนไทย บรรเจิด เพ็งเทศ (15) 750 0.79
รวมพลังประชาชาติไทย ทรงวุฒิ เชื้อน่วม (9) 707 0.74
พลังไทยรักไทย รัชนี แช่มชื่น (25) 612 0.64
ไทยศรีวิไลย์ วรากร ยศไกร (19) 366 0.38
ชาติไทยพัฒนา พัชรี เอี่ยมอ่อน (22) 353 0.37
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย จักรพรรดิ์ กาญจนธนานนท์ (11) 331 0.35
พลเมืองไทย วีระพงษ์ แต่งเนตร (24) 307 0.32
ประชาภิวัฒน์ ธนพล พวงปาริชาต (1) 302 0.32
ชาติพัฒนา พันเอก อารีย์ ชูศรี (12) 299 0.31
ประชาธิปไตยใหม่ จ่าสิบเอก วัลลภ เพ็งใย (8) 235 0.25
พลังท้องถิ่นไท จุฑาทิพ ยอดเพชร (7) 223 0.23
ประชานิยม นาวาโท วุฒิไกร นาคหวัง (6) 213 0.22
พลังครูไทย ณัฐดนัย สามภักดี (18) 191 0.20
ภราดรภาพ กริช พลเดชวิสัย (4) 181 0.19
เพื่อแผ่นดิน สุทธิศาล จันทรศร (21) 145 0.15
ไทรักธรรม วิวัฒน์ชัย ก้อนจันทร์เทศ (31) 144 0.15
พลังชาติไทย วีระศักดิ์ สุวรรณโณ (27) 139 0.15
ครูไทยเพื่อประชาชน อารีรัตน์ ดีอินทร์ (10) 121 0.13
ประชาชนปฏิรูป นิรัญ ดอนสุวรรณ (23) 115 0.12
แผ่นดินธรรม พันโท ปรีชา จันทาพูน (26) 91 0.10
มหาชน ปาณิศา วิไลเลิศ (28) 44 0.05
แทนคุณแผ่นดิน จ่าสิบตรี วิรัต ดีวิจิตร (30) 41 0.04
ประชาธรรมไทย จักรพันธ์ มีบุญ (29) 34 0.04
ไทยรักษาชาติ บวรเดช หล้าแหล่ง (14)†
ผลรวม 95,486 100.00
บัตรดี 95,486 91.70
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,243 3.11
บัตรเสีย 5,404 5.19
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,133 74.90
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,029 100.00
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพรหมพิรามและอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลไผ่ขอดอน ตำบลบ้านกร่าง ตำบลจอมทอง ตำบลมะขามสูง ตำบลปากโทก ตำบลหัวรอ ตำบลบ้านป่า ตำบลดอนทองและตำบลสมอแข)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย นพพล เหลืองทองนารา (14)* 32,965 33.05
พลังประชารัฐ จ่าสิบเอก พัฒณปกรณ์ ดอนตุ้มไพร (5) 27,603 27.67
อนาคตใหม่ ร้อยตรี ณรงค์ ยาวขันแก้ว (3) 14,725 14.76
ประชาธิปัตย์ ธีระ อ่ำพูล (2) 14,680 14.72
เสรีรวมไทย นคเรศ ฤทธิรอน (4) 1,912 1.92
เศรษฐกิจใหม่ นาวาอากาศเอก คนองเดช พงษ์ประเสริฐ (22) 1,448 1.45
เพื่อชาติ ยอด นาคหวัง (15) 1,112 1.11
ชาติพัฒนา ธวัชชัย กันนะพันธุ์ (9) 966 0.97
ประชาธิปไตยใหม่ ประชุม ปิ่นสกุล (12) 429 0.43
ภูมิใจไทย พันตำรวจเอก เชิดศักดิ์ พูลเผ่าดำรงค์ (11) 390 0.39
รวมพลังประชาชาติไทย ทวี ทองถัน (7) 340 0.34
ไทรักธรรม พันจ่าอากาศเอก สุชาติ อินทับทิม (34) 339 0.34
ประชาภิวัฒน์ พันโท ชัยพร คุ้มสุพรรณ (1) 331 0.33
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย เดช นุชเขียว (16) 251 0.25
พลเมืองไทย ร้อยตรี บรรเจิด เมืองเขียว (24) 240 0.24
พลังท้องถิ่นไท ร้อยตำรวจตรี ศุภชัย ศรีภิรมย์ (6) 240 0.24
ประชาชนปฏิรูป ทวีเดช กลิ่นกระโทก (13) 237 0.24
ไทยศรีวิไลย์ สมาน อินเปล่ง (19) 215 0.22
ชาติไทยพัฒนา วีระ สุวรรณภูมิ (18) 206 0.21
เพื่อแผ่นดิน หลี แสนประสิทธิ์ (17) 159 0.16
ภราดรภาพ นัทธี จันทร์ประเสริฐ (21) 136 0.14
พลังไทยรักไทย ปภาวรินทร์ เปรมทอง (28) 121 0.12
ประชานิยม ร้อยตรี ภิญโญ จันทร์ศุภวิบูลย์ (8) 102 0.10
พลังปวงชนไทย สมปอง ทรัพย์เมือง (26) 98 0.10
พลังชาติไทย ธีรณัฐภาดา จันทะคุณ (20) 88 0.09
ครูไทยเพื่อประชาชน กริษณ์ ชุนนะวรรณ์ (10) 87 0.09
กรีน นิกร แก้วเกตุสี (23) 81 0.08
แผ่นดินธรรม พลตรี ยุวคนธ์ เพ็ชร์ภา (29) 51 0.05
แทนคุณแผ่นดิน ภิญญลักษณ์ มั่นคง (33) 50 0.05
พลังครูไทย จินตนา เวียงสุข (27) 47 0.05
พลังสังคม นลพรรณ สารีสุข (31) 37 0.04
ประชาธรรมไทย ธุวานัณท์ มีชม (32) 33 0.03
มหาชน วัชรินทร์ วันรักชาติ (30) 23 0.02
พลังประชาธิปไตย ศตวรรษ ปิ่นประดับ (25)†
ผลรวม 99,742 100.00
บัตรดี 99,472 91.42
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,117 1.94
บัตรเสีย 7,244 6.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 109,081 76.17
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 143,209 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 3 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอวังทองและอำเภอเนินมะปราง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ อนุชา น้อยวงศ์ (8) 25,207 29.08
ประชาธิปัตย์ พงษ์มนู ทองหนัก (4) 25,003 28.85
อนาคตใหม่ โชคดี สายนำพามีลาภ (6) 18,820 21.71
เพื่อชาติ บุญจิณณ์ ยศปัญญา (10) 5,680 6.55
เสรีรวมไทย จงกล พลับพลา (13) 3,554 4.10
เศรษฐกิจใหม่ ณัฐวุฒิ บุญจันทร์ (9) 1,284 1.48
พลังไทยรักไทย ธมกร เกรียงไกรวุฒิกุล (25) 707 0.82
ประชาภิวัฒน์ เตือน แพงวังทอง (1) 585 0.67
แทนคุณแผ่นดิน ยุภาวดี เมืองมา (28) 579 0.67
รวมพลังประชาชาติไทย พณิชชา พานิชกุล (12) 575 0.66
ภราดรภาพ ประทีป คงทิพย์ธีรศรี (3) 526 0.61
ภูมิใจไทย สังวาลย์ ศรีนวล (18) 505 0.58
พลังครูไทย สมส่าห์ เวียงสุข (24) 500 0.58
พลังชาติไทย ร้อยโท สุทิน พันธุ์เทศ (20) 424 0.49
พลังท้องถิ่นไท ร้อยตรี สุธนจิรันดร์ มาเดช (5) 424 0.49
กรีน ณัฐพงษ์ แก้วนวล (21) 309 0.36
ครูไทยเพื่อประชาชน มะลิ ทองคำปลิว (2) 288 0.33
ไทยศรีวิไลย์ ยุทธนา แพนคร (19) 254 0.29
ประชาธิปไตยใหม่ วิชัย สิงห์ผาสุข (14) 230 0.27
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย จันทา คำแพง (16) 187 0.22
ประชาชนปฏิรูป โชคสมาน คุณเฉย (11) 156 0.18
เพื่อแผ่นดิน สุนิตย์ วงค์พานิช (17) 146 0.17
พลังสังคม สุเทพ ตะเวที (26) 135 0.16
ประชานิยม ศุภกร อินทร์แผลง (15) 133 0.15
ไทรักธรรม ปราณี วรรณพโล (31) 125 0.14
พลังปวงชนไทย สิทธิโชค บัวทั่ง (23) 114 0.13
พลเมืองไทย อภิชาต มนัสตรง (22) 92 0.11
ประชาธรรมไทย ฉวีวรรณ จินดามัง (29) 74 0.09
มหาชน บุญปลูก วันรักชาติ (27) 56 0.06
ไทยรักษาชาติ หัสนัยน์ สอนสิทธิ์ (7)✔†
พลังประชาธิปไตย สุพินา ทองนักธรรม (30)†
ผลรวม 86,672 100.00
บัตรดี 86,672 89.17
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,635 1.68
บัตรเสีย 8,894 9.15
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 97,202 69.06
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 104,758 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 4 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอบางกระทุ่ม อำเภอบางระกำและอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลท่าโพธิ์และตำบลงิ้วงาม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย นิยม ช่างพินิจ (9)* 40,252 42.87
อนาคตใหม่ ณัฐธยาน์ แสงงาม (13) 18,180 19.36
ประชาธิปัตย์ มุธิตา ทองคำนุช (10) 17,276 18.40
พลังประชารัฐ อัศวิน นิลเต่า (6) 10,035 10.69
ชาติพัฒนา พิพัฒน์ พันมา (5) 1,475 1.57
เสรีรวมไทย บุรินทร์ เที่ยงตรง (8) 1,285 1.37
เศรษฐกิจใหม่ วิสุทธิ์ ฉายพันธ์ (17) 993 1.06
รวมพลังประชาชาติไทย อรชุน หวั่นอุทิศ (1) 574 0.61
ไทยศรีวิไลย์ ประเจต ชินพงศ์ (21) 573 0.61
ประชาไทย สุพัตรา แสดงชม (29) 499 0.53
ภูมิใจไทย ศักดิ์ชัย เดชา (4) 438 0.47
ประชานิยม พันตำรวจโท ปวริศ สอนวิชัย (2) 314 0.33
พลังชาติไทย นิภา สีราชา (26) 305 0.32
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย บุญเลิศ ทับทิมทอง (12) 235 0.25
พลังไทยรักไทย นิธิวัตร ทวีประภาวัฒน์ (25) 201 0.21
พลังท้องถิ่นไท กล้วย สังสีแก้ว (7) 170 0.18
ครูไทยเพื่อประชาชน บุญปลูก สนองญาติ (11) 159 0.17
ประชาธิปไตยใหม่ มนูญ ฮวบน้อย (15) 148 0.16
เพื่อชาติ ภาณุพงศ์ สนองตระกูล (20) 127 0.14
ประชาชนปฏิรูป ประเสริฐ ลาสิทธิ์ (3) 108 0.12
ชาติไทยพัฒนา ปิยณัฐ ดอนตุ้มไพร (16) 103 0.11
พลังปวงชนไทย พิรัชพงษ์ อัครพัชร์กร (23) 98 0.10
แทนคุณแผ่นดิน ร้อยตำรวจเอก ธนกร พ่วงรอด (28) 85 0.09
ประชาภิวัฒน์ ภิรมย์ ศิริสานต์ (14) 80 0.09
พลังครูไทย ลลิตา สีแสง (24) 61 0.06
เพื่อแผ่นดิน เฉลิม บุญภิบาล (19) 51 0.05
กรีน สายธง สิงห์สถิต (18) 41 0.04
มหาชน นุชรี ชูลี (27) 33 0.04
ภราดรภาพ โอวภัทร คลังเพ็ชร์ (22) 0 0.00
ไทรักธรรม วิมลพันธ์ ไกรฤกษ์ (30) 0 0.00
ผลรวม 93,899 100.00
บัตรดี 93,889 92.72
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,356 1.34
บัตรเสีย 6,032 5.94
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,557 74.43
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 136,443 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 5 แก้

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอวัดโบสถ์ อำเภอชาติตระการและอำเภอนครไทย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ มานัส อ่อนอ้าย (16) 28,952 32.13
ประชาธิปัตย์ คณิศร มาดี (8) 25,002 27.75
เพื่อไทย นคร มาฉิม (11)* 16,113 17.88
อนาคตใหม่ อมรเทพ พัวทอง (6) 10,643 11.81
พลังแผ่นดินทอง สำเนียง แสงบุดดี (36) 860 0.95
เสรีรวมไทย สุพจน์ โปร่งจิตร (12) 759 0.84
พลังไทยรักไทย เกียรติวัฒ ชื้อนิธิไพศาล (28) 748 0.83
ชาติพัฒนา เวียน โพตะกาว (7) 605 0.67
พลังชาติไทย สุพัตรา มีศิล (15) 583 0.65
เศรษฐกิจใหม่ วิวัฒน์ ดีอินทร์ (21) 577 0.64
ภูมิใจไทย สุนิพล ดีบ้านคลอง (9) 486 0.54
พลเมืองไทย วรชัย กาญจนะโกสุม (26) 392 0.44
รวมพลังประชาชาติไทย เชิด สิรินันต์นุกุล (10) 367 0.41
ภราดรภาพ ธนู พลเดชวิสัย (1) 365 0.41
ประชากรไทย เศรษฐา สุทธิหล่อ (31) 324 0.36
ประชาชาติ แทนคุณ แซ่วื่อ (19) 321 0.36
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ว่าที่ร้อยตรีหญิง มุกดา จันทะคุณ (18) 310 0.34
พลังท้องถิ่นไท จิรพันธุ์ หาญชัยเวธน์ (4) 271 0.30
พลังครูไทย ทรงกลด สารีบุตร (20) 235 0.26
ประชาธิปไตยใหม่ ณรงค์ สีตนไชย (17) 231 0.26
สังคมประชาธิปไตยไทย แปลง บุญอาจ (5) 230 0.26
เพื่อชาติ อนันตไชย มาฉิม (3) 214 0.24
ประชานิยม จินดา เพ็ชรัตน์ (2) 166 0.18
ไทยศรีวิไลย์ พีระพล อัศวศิริโรจน์ (33) 157 0.17
ประชาภิวัฒน์ ร้อยตรี ชัยวัฒน์ ม่วงพรหม (14) 146 0.16
เพื่อแผ่นดิน ชนสิษฏ์ จันทรศร (13) 136 0.15
พลังปวงชนไทย ธนัชชา นารี (27) 136 0.15
ชาติไทยพัฒนา กนกวรรณ ศรีภิรมย์ (24) 124 0.14
พลังรัก พงษ์เพชร จันทรา (30) 117 0.13
ทางเลือกใหม่ อภิฤหาญพามน ฉัตรอภิเที่ยงค่ำ (37) 99 0.11
แผ่นดินธรรม ธนกร หวังแก้ว (29) 82 0.09
ครูไทยเพื่อประชาชน ชาย แซ่โล่ (22) 78 0.09
แทนคุณแผ่นดิน อมรรัตน์ เขียวขุ้ย (35) 74 0.08
ประชาชนปฏิรูป กิตติศักดิ์ เสือสะอาด (25) 70 0.08
ประชาธรรมไทย สุมาลี กันหมุด (34) 47 0.05
มหาชน สุมาลี แย้มรุ่ง (32) 43 0.05
กรีน คุณัญญา เชื้อบุญมี (23) 42 0.05
ไทรักธรรม รุ่งนภา ควรสมทบ (38) 0 0.00
ผลรวม 90,105 100.00
บัตรดี 90,015 91.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,950 1.97
บัตรเสีย 6,841 6.92
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 98,897 76.29
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 129,630 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

อ้างอิง แก้

  1. สยามรัฐออนไลน์ (4 กุมภาพันธ์ 2562). "เปิดรับสมัครส.ส.เมืองสองแคววันแรกคึกคัก กองเชียร์แห่ให้กำลังใจติดขอบสนาม". siamrath. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "พิธา" นำทีมเพื่อนอนาคตใหม่ ย้ายเข้า #พรรคก้าวไกล ทำแฮชแท็กพุ่งอันดับ 1

แหล่งข้อมูลอื่น แก้