จักรวรรดิเขมร
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร เนื้อหาที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก |
จักรวรรดิเขมร หรือบางแหล่งเรียกว่า อาณาจักรขอม เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจากอาณาจักรฟูนัน[1] มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ ประเทศไทย ลาว และบางส่วนของเวียดนามในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับอาณาจักรสุโขทัย และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรอยุธยา
จักรวรรดิเขมร ចក្រភពខ្មែរ Cakrabhub Khmer कम्बुजदेश Kambujadeśa | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 802–ค.ศ. 1431 | |||||||||||||
ธงชาติ | |||||||||||||
![]() อาณาเขตจักรวรรดิเขมรในปี ค.ศ. 900 | |||||||||||||
สถานะ | จักรวรรดิ | ||||||||||||
เมืองหลวง | มเหนทรบรรพต (ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9) หริหราลัย (คริสต์ศตวรรษที่ 9) ยโสธรปุระ (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 - ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10) เมืองพระนคร (คริสต์ศตวรรษที่ 10 - คริสต์ศตวรรษที่ 15) | ||||||||||||
ภาษาทั่วไป | เขมรโบราณ, สันสกฤต | ||||||||||||
ศาสนา | ศาสนาฮินดู, พุทธมหายาน, พุทธเถรวาท | ||||||||||||
การปกครอง | สมบูรณาญาสิทธิราชย์ | ||||||||||||
พระมหากษัตริย์ | |||||||||||||
• ค.ศ. 802–850 | ชัยวรมันที่ 2 | ||||||||||||
• ค.ศ. 1113–1150 | สุริยวรมันที่ 2 | ||||||||||||
• ค.ศ. 1181–1218 | ชัยวรมันที่ 7 | ||||||||||||
• ค.ศ. 1393–1463 | พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ) | ||||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สมัยกลาง | ||||||||||||
• พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ครองราชย์ | ค.ศ. 802 | ||||||||||||
• การบุกรุกของชาวสยาม | ค.ศ. 1431 | ||||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||||
1,200,000 ตารางกิโลเมตร (460,000 ตารางไมล์) | |||||||||||||
ประชากร | |||||||||||||
• ค.ศ. 1150 | 4,000,000 | ||||||||||||
| |||||||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ประวัติศาสตร์กัมพูชา | |
---|---|
![]() | |
ประวัติศาสตร์ยุคแรก | |
อาณาจักรฟูนาน (611–1093) | |
อาณาจักรเจนละ (1093–1345) | |
จักรวรรดิเขมร (1345–1974) | |
ยุคมืด | |
สมัยจตุมุข (1974–2068) | |
สมัยละแวก (2068–2136) | |
สมัยศรีสันธร (2136–2162) | |
สมัยอุดง (2162–2406) | |
ยุครัฐในอารักขา | |
ไทยและเวียดนาม | |
อาณานิคมฝรั่งเศส (2406–2496) ส่วนหนึ่งของอินโดจีนฝรั่งเศส | |
ยุคญี่ปุ่นยึดครอง (2484–2489) | |
หลังได้รับเอกราช | |
สงครามกลางเมืองกัมพูชา (2510–2518) | |
รัฐประหาร พ.ศ. 2513 | |
สาธารณรัฐเขมร | |
สงครามเวียดนาม พ.ศ. 2513 | |
ยุคเขมรแดง (2518–2519) | |
สงครามกัมพูชา–เวียดนาม (2518–2532) | |
สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (2522–2536) | |
การจัดการเลือกตั้งโดยสหประชาชาติ | |
ราชอาณาจักรกัมพูชา (2536–ปัจจุบัน) | |
หลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2536 | |
| |
อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจากอาณาจักรเจนฬา มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรจามปา มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ นครวัด และ นครธม ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธทั้งมหายานและเถรวาทซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13
การเปลี่ยนแปลงดินแดนแก้ไข
พื้นที่จักรวรรดิเขมรระบายด้วยสีแดง