วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2
วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 สมาชิกชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 เนื่องจากมีการประกาศยึดอำนาจการปกครอง และนำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้[1][2]
วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
ภาพรวม | |||||
สภานิติบัญญัติ | วุฒิสภา | ||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | พระที่นั่งอนันตสมาคม | ||||
วาระ | 18 พฤศจิกายน 2490 – 29 พฤศจิกายน 2494 | ||||
การเลือกตั้ง | แต่งตั้ง | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีควง 3 คณะรัฐมนตรีควง 4 คณะรัฐมนตรีแปลก 3 คณะรัฐมนตรีแปลก 4 | ||||
วุฒิสภา | |||||
สมาชิก | 100 | ||||
ประธาน | เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ | ||||
รองประธาน | พระยาอัชราชทรงสิริ |
รายนามสมาชิกวุฒิสภา
แก้- พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
- พลโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พันเอก พระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พันเอก เสงี่ยม รามณรงค์ เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พลเรือตรี พระจักรานุกรกิจ (วงส์ สุจริตกุล)
- พลเรือตรี เจริญ นายเรือ ลาออกเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล เมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492
- นายจรินทร์ กฤษณะภักดี
- พระยาจินดารักษ์ (จำลอง จินดารักษ์ สวัสดิ-ชูโต)
- หม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต
- พลโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
- หลวงชลานุสสร (บุญเกิด รัตนเสน)
- หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์
- นายเชวง เคียงศิริ
- พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ)
- พระยาชัยสุรินทร์ (ตาล บุนนาค) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยันต์ เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พระชัยปัญญา (ประชุม รัตนกุล)
- พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ (ไชย แสง-ชูโต)
- พันตำรวจตรี ชั้น รัศมิทัต ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พันเอก หลวงชำนาญยุทธศิลป์ ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พลตรี สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พระยาดรุพันพิทักษ์ (สนิท พุกกะมาน)
- พลตรี พระยาดำรงแพทยาคุณ (ชื่น พุทธิแพทย์)
- พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
- พระยาทรงสุรรัชฏ์ (อนุสนธิ บุนนาค)
- พระทิพย์เบญญา (จิตร์ จุณณานนท์)
- พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล) ถึงแก่กรรมเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง นายพจน์ สารสิน เมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2492
- พระยาโทณวณิกมนตรี (วิสุทธิ์ โทณวณิก)
- พระยานายกนรชนวิมลภักดี (เจริญ ปริยานนท์)
- พระนิตินัยประสาน (พงษ์ บุนนาค)
- นาวาตรี หลวงนิเทศกลกิจ (กลาง โรจนเสนา) ถึงแก่กรรมเมื่อ 5 กันยายน พ.ศ. 2491 แต่งตั้ง พระพิทักษ์ชินประชา (ม้าเสียง ตัณฑวณิช) เมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2491 และลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง นาวาเอก พระยาวิชิตชลธี (ทองดี สุวรรณพฤกษ์) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พระยาบริรักษ์เวชชการ (บริรักษ์ ติตติรานนท์)
- พระยาบุรณศิริพงศ์ (ปราโมทย์ บุรณศิริ) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พระยาบำเรอภักดิ์ (สนิท จารุจินดา)
- นายบรรจง ศรีจรูญ
- พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)
- พระยาประชาศรัยสรเดช (ถาบ ประชาศรัยสรเดช)
- หลวงประกอบนิติสาร (ประกอบ บุณยัษฐิติ)
- พระยาปรีดานฤเบศร์ (ฟัก พันธุฟัก)
- นายผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา
- นายเผดิม อังสุวัฒนะ
- พระยาเพชรดา (สอาด ณ ป้อมเพชร) ถึงแก่กรรมเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง หม่อมเจ้าดิศานุวัตร ดิศกุล เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พระยาพนานุจร (เปล่ง สาครบุตร)
- นาวาเอก หม่อมเจ้าพรปรีชา กมลาศน์
- พลตรี พระยาพิไชยสงคราม (แก๊ป สรโยธิน)
- พระพิพิธภักดี (พิพิธ ภูมุกดา)
- มหาอำมาตย์ตรี พระยาพิพัฒนธนากร (ฉิม โปษยานนท์)
- พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)
- พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)
- พระยาภิรมย์ภักดี ถึงแก่กรรมเมื่อ 23 มีนาคม พ.ศ. 2493 แต่งตั้ง พลอากาศโท หลวงเทวฤทธิ์พันลึก (กาพย์ ทัตตานนท์) เมื่อ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
- พลตรี เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
- มหาอำมาตย์โท พระยาเมธาธิบดี (สาตร สุทธเสถียร)
- พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน)
- พระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปริชญานนท์) ถึงแก่กรรมเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พลโท มังกร พรหมโยธี เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พลตรี เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้งพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)
- นายเล้ง ศรีสมวงศ์ ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง นางเลขา อภัยวงศ์ เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พลโท พระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์สิทธิ์ สุทัศน์)
- พลเรือตรี พระยาวิจารณ์จักรกิจ (บุญชัย สวาทะสุข)
- พลตรี พระยาวิบุลอายุรเวท (เสข ธรรมสโรช)
- พันเอก พระวิทยาสารรณยุต (หยัด วิทยาสารรณยุต)
- หม่อมเจ้าวัฒยากร เกษมศรี
- พลโท หม่อมเจ้าเสรฐศิริ กฤดากร
- เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
- พระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ)
- พันเอก พระยาศรีพิชัยสงคราม (เจริญ จันฉาย)
- พระยาศรีราชโกษา (ช่วง พีชานนท์)
- พลโท พระยาศรีสรราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ฉาย กำภู)
- พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)
- พันเอก หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ต้น สนิทวงศ์)
- นายสง่า วรรณดิษฐ์ ลาออกเมื่อ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 แต่งตั้ง พลตรี สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2494
- นายสวัสดิ์ โอสถานุเคราะห์
- พระยาสารศาสตร์ศิริลักษณ์ (สรรเสริญ สุขยางค์) ถึงแก่กรรมเมื่อ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 แต่งตั้งพลอากาศโท พระศิลปศัสตราคม (ภักดิ์ เกษสำลี) เมื่อ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2494
- พระยาสาริกพงศธรรมพิลาส (สวัสดิ์ สาริกะภูติ)
- พันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
- พลตรี พระยาเสนีณรงค์ฤทธิ์ (หม่อมหลวงเล็ก สนิทวงศ์)
- หม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร
- พลโท พระยาสีหราชเดโชไชย (สวาสดิ์ บุนนาค)
- พลโท พระยาสีหราชฤทธิไกร (หม่อมหลวงชวย ฉัตรกุล)
- พระยาสุพรรณสมบัติ (ติณ บุนนาค)
- พลตรี พระยาสุรวงศ์วิวัฒน์ (เตี้ยม สุรวงศ์ บุนนาค)
- พระยาสุริยราชวราภัย (ศิริ วิเศษโกสิน)
- พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต๋า บุนนาค)
- พระสุทธิอรรถนฤมนต์ (สุธ เลขยานนท์)
- พลตรี พระสุริยสัตย์ (สันต์ สุริยสัตย์)
- หลวงสุริยพงศ์พิสุทธิแพทย์ (กระจ่าง บุนนาค)
- นายสัญญา ยมะสมิต
- นาวาเอก หลวงสำรวจวิถีสมุทร์ (ฟุ้ง พร้อมสัมพันธ์)
- พลตรี หม่อมหลวงอภิรุม ชุมสาย ลาออกเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) เมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2492
- พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) ลาออกเมื่อ 1 กันยายน พ.ศ. 2491 แต่งตั้ง จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2491
- พลโท พระยาอภัยสงคราม (จอน โชติดิลก)
- พระยาอมาตยพงศ์ธรรมพิศาล (ประสงค์ อมาตยกุล)
- พลตรี พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- พระยาอาณาจักร์บริบาล (สมบุญ สวรรคทัต)
- นายอาทร สังขะวัฒนะ
- พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
- พันเอก หม่อมหลวงอังกาบ สนิทวงศ์
- พลตรี พระอุดมโยธาธิยุต (สด รัตนาวะดี)
- พระยาอรรถกรมมณุตตี (อรรถกรม ศรียาภัย)
- พระยาอรรถกฤตนิรุตติ์ (ชม เพ็ญชาติ์)
- พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)
- พลตรี พระยาอินทรวิชิต (รัตน อาวุธ อินทรวิชิต)
- หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล
รายนามสมาชิกวุฒิสภาที่สิ้นสุดสมาชิกภาพ
แก้โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 83 บัญญัติว่า "สมาชิกภาพแห่งสมาชิกวุฒิสภามีกำหนดเวลาคราวละ 6 ปี นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง เฉพาะในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกำหนด 3 ปี ให้มีการเปลี่ยนสมาชิกเป็นจำนวนกึ่งหนึ่งโดยวิธีจับสลาก" และตามข้อบังคับว่าด้วยการจับสลากของสมาชิกวุฒิสภาได้บัญญัติให้กระทำการจับสลาก ในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493
ดังนั้น สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 50 ท่าน สิ้นสุดลงในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ดังรายนามต่อไปนี้
- พลโท พระยาอภัยสงคราม (จอน โชติดิลก)
- พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ (ไชย แสง-ชูโต)
- พลตรี หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ต้น สนิทวงศ์)
- พลโท พระยาสีหราชเดโชไชย (สวาสดิ์ บุนนาค)
- นายเชวง เคียงศิริ
- พระยาบริรักษ์เวชชการ (บริรักษ์ ติตติรานนท์)
- พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
- พลเอก มังกร พรหมโยธี
- พระยาสาริกพงศธรรมพิลาส (สวัสดิ์ สาริกะภูติ)
- พลตรี พระสุริยสัตย์ (สันต์ สุริยสัตย์)
- คุณหญิง เลขา อภัยวงศ์
- พระยาศรีราชโกษา (ช่วง พีชานนท์)
- พลเรือตรี พระจักรานุกรกิจ (วงส์ สุจริตกุล)
- พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต๋า บุนนาค)
- พลตรี พระยาอินทรวิชิต (รัตน อาวุธ อินทรวิชิต)
- พลตรี สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ
- นายบรรจง ศรีจรูญ
- พระนิตินัยประสาน (พงษ์ บุนนาค)
- หลวงประกอบนิติสาร (ประกอบ บุณยัษฐิติ)
- พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)
- หลวงชลานุสสร (บุญเกิด รัตนเสน)
- พลโท พระยาสีหราชฤทธิไกร (หม่อมหลวงชวย ฉัตรกุล)
- นายสัญญา ยมะสมิต
- พระยาบำเรอภักดิ์ (สนิท จารุจินดา)
- พระยาจินดารักษ์ (จำลอง จินดารักษ์ สวัสดิ-ชูโต)
- นาวาเอก หม่อมเจ้าพรปรีชา กมลาศน์
- พันเอก พระรามณรงค์ (เสงี่ยม รามณรงค์)
- พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
- หม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร
- พลเรือตรี พระยาวิจารณ์จักรกิจ (บุญชัย สวาทะสุข)
- หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์
- พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
- พระยาโทณวณิกมนตรี (วิสุทธิ โทณวณิก)
- พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)
- หม่อมเจ้าดิศานุวัติ ดิศกุล
- พระทิพย์เบญญา (จิตร์ จุณณานนท์)
- พระยาเมธาธิบดี (สาตร สุทธเสถียร)
- พลตรี พระยาพิไชยสงคราม (แก๊ป สรโยธิน)
- พระชัยปัญญา (ประชุม รัตนกุล)
- หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล
- พลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล
- พลตรี พระอุดมโยธาธิยุต (สด รัตนาวะดี)
- นาวาเอก หลวงสำรวจวิถีสมุทร์ (ฟุ้ง พร้อมสัมพันธ์)
- ท่านผู้หญิง ละเอียด พิบูลสงคราม
- นายจรินทร์ กฤษณะภักดี
- พลโท พระยาศรีสรราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ฉาย กำภู)
- พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน)
- พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
- พระยาอมาตยพงศ์ธรรมพิศาล (ประสงค์ อมาตยกุล)
- พระยาทรงสุรรัชฏ์ (อนุสนธิ บุนนาค)
รายนามสมาชิกวุฒิสภาใหม่
แก้ในวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 มีการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาใหม่ จำนวน 50 ท่าน แทนผู้ที่จับสลากออกเมื่อครบวาระ 3 ปี โดยมีคนเก่า 35 ท่าน และคนใหม่ 15 ท่าน ดังรายนามต่อไปนี้
สมาชิกเก่า 35 ท่าน
แก้- พลโท พระยาอภัยสงคราม (จอน โชติดิลก)
- พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ (ไชย แสง-ชูโต)
- พลตรี หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ต้น สนิทวงศ์)
- พระยาบริรักษ์เวชชการ (บริรักษ์ ติตติรานนท์)
- พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
- พลโท มังกร พรหมโยธี
- พระยาสาริกพงศธรรมพิลาส (สวัสดิ์ สาริกะภูติ)
- คุณหญิง เลขา อภัยวงศ์
- พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต๋า บุนนาค)
- พลตรี พระยาอินทรวิชิต (รัตน อาวุธ อินทรวิชิต)
- นายบรรจง ศรีจรูญ
- พระนิตินัยประสาน (พงษ์ บุนนาค)
- หลวงประกอบนิติสาร (ประกอบ บุณยัษฐิติ)
- พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)
- หลวงชลานุสสร (บุญเกิด รัตนเสน)
- นาวาเอก หม่อมเจ้าพรปรีชา กมลาศน์
- พันเอก พระรามณรงค์ (เสงี่ยม รามณรงค์)
- พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
- หม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร
- หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์
- พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
- พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)
- หม่อมเจ้าดิศศานุวัติ ดิศกุล
- พระยาเมธาธิบดี (สาตร สุทธเสถียร)
- พลตรี พระยาพิไชยสงคราม (แก๊ป สรโยธิน)
- พระชัยปัญญา (ประชุม รัตนกุล)
- หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล
- พลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงศ์ เทวกุล
- พลตรี พระอุดมโยธาธิยุต (สด รัตนาวะดี)
- นาวาเอก หลวงสำรวจวิถีสมุทร์ (ฟุ้ง พร้อมสัมพันธ์)
- ท่านผู้หญิง ละเอียด พิบูลสงคราม
- นายจรินทร์ กฤษณะภักดี
- พลโท พระยาศรีสรราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ฉาย กำภู)
- พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน)
- พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
สมาชิกใหม่ 15 ท่าน
แก้- นาวาเอก พระศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)
- พันโท พระอาสาสงคราม (อาสาสงคราม หัสดิเสวี)
- พันตรี หลวงสรสิทธยานุการ (สิทธิ์ แสง-ชูโต)
- พระยาสัจจาภิรมย์ (สรวง ศรีเพ็ญ)
- นายจุลินทร์ ล่ำซำ
- นาวาโท หลวงชำนิกลการ (ฉา โพธิทัต)
- พลเรือตรี เล็ก สุมิตร
- พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)
- พระยาประกิตกลศาสตร์ (รุณชิตร์ กาญจนวณิชย์)
- พลตรี บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ถึงแก่กรรมเมื่อ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494 แต่งตั้ง หม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์ เมื่อ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494
- พลตรี น้อม เกตุนุติ
- พระสุขุมวินิจฉัย (สมุจย์ บุณยรัตพันธุ์)
- พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
- พระยาบริหารนิติธรรม (ชื้น ธรรมสโรช)
- นายจุล วัจนะคุปต์
อ้างอิง
แก้- ↑ "วุฒิสภา ชุดที่ ๒ (สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๔๘๙)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-02-23.
- ↑ ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ 2475