พระที่นั่งในประเทศไทย

(เปลี่ยนทางจาก พระที่นั่ง)

พระที่นั่ง มีหลายความหมาย ความหมายแรกนั้น หมายถึง เรือนที่ประทับหรือที่สำหรับทรงงานสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน ทั้งประเภทเรือนยอด (หรือที่เรียกว่าปราสาท) และเรือนหลังคาจั่ว พระที่นั่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ รวมทั้งสถานที่ภายในองค์ปราสาทที่ใช้สำหรับประกอบกิจต่าง ๆ[1] หรืออาจหมายถึง พระราชอาสน์หรือที่นั่งที่มีชื่อเฉพาะในแต่ละองค์ โดยถ้าใช้คำว่าพระที่นั่งประกอบกับคำอื่น ๆ ก็มีความหมายว่าเป็นพาหนะที่จัดเฉพาะพระเจ้าแผ่นดินหรือพระราชวงศ์ชั้นสูง เช่น รถพระที่นั่ง เรือพระที่นั่ง โดยพระที่นั่งที่สำคัญในประเทศไทย ได้แก่

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

พระนารายณ์ราชนิเวศน์ แก้

พระราชวังโบราณ อยุธยา แก้

ชื่อ
พระที่นั่งไพฑูรย์มหาปราสาท
พระที่นั่งไพชยนต์มหาปราสาท
พระที่นั่งไอศวรรย์มหาปราสาท
พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์
พระที่นั่งสรรเพชญมหาปราสาท
พระที่นั่งวิหารสมเด็จ
พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์
พระที่นั่งบรรยงค์รัตนาสน์
พระที่นั่งเบญจรัตนมหาปราสาท
พระที่นั่งมังคลาภิเษกมหาปราสาท
พระที่นั่งตรีมุข

พระบรมมหาราชวัง แก้

ชื่อ
พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร
พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน
พระที่นั่งเทพสถานพิลาส
พระที่นั่งเทพอาสนพิไลย
พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน
พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท
พระที่นั่งราชกรัณยสภา
พระที่นั่งพิมานรัตยา
พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท
พระที่นั่งสนามจันทร์
พระที่นั่งราชฤดี
พระที่นั่งดุสิดาภิรมย์
พระที่นั่งมหิศรปราสาท
พระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท
พระที่นั่งบรมพิมาน
พระที่นั่งสีตลาภิรมย์
พระที่นั่งเทวารัณยสถาน

พระราชวังดุสิต แก้

ชื่อ
พระที่นั่งวิมานเมฆ
พระที่นั่งอนันตสมาคม
พระที่นั่งอภิเศกดุสิต
พระที่นั่งอัมพรสถาน
พระที่นั่งอุดรภาค
พระที่นั่งสีตลาภิรมย์

พระราชวังบางปะอิน แก้

พระราชวังจันทรเกษม แก้

พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า หรือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร) แก้

พระราชวังพญาไท แก้

พระราชวังสนามจันทร์ แก้

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน แก้

พระรามราชนิเวศน์ แก้

พระนครคีรี แก้

พระราชอาสน์ แก้

อื่นๆ แก้

อ้างอิง แก้

ดูเพิ่ม แก้