ผู้ใช้:Phaisit16207/กระบะทราย 3

หมวดหมู่ - สถานที่/เมือง/นคร แก้

นอร์ฟอล์ก (รัฐเวอร์จิเนีย) แก้

นอร์ฟอล์ก
นครนอร์ฟอล์ก
City of Norfolk
 
ตามเข็มนาฬิกาจากด้านบน: เส้นขอบฟ้าของตัวเมืองนอร์ฟอล์ก เมื่อมองจากฝั่งตรงข้ามของแม่น้ำเอลิซาเบธ, พิพิธภัณฑ์เรือรบยูเอสเอส วิสคอนซิน, ท่าเรือโอเชียนวิว, รถไฟรางเบาเดอะไทด์, เรือรบ ณ ฐานทัพเรือนอร์ฟอล์ก, บ้านทางประวัติศาสตร์ในเกนท์
 
ธง
 
ตรา
คำขวัญ: 
Crescas (Latin for, "Thou shalt grow.")
 
 
 
นอร์ฟอล์ก
นครนอร์ฟอล์กภายในรัฐเวอร์จิเนีย
 
 
นอร์ฟอล์ก
นครนอร์ฟอล์กภายในประเทศสหรัฐ
 
 
นอร์ฟอล์ก
นครนอร์ฟอล์กภายในทวีปอเมริกาเหนือ
พิกัด: 36°55′N 76°12′W / 36.917°N 76.200°W / 36.917; -76.200
ประเทศ  สหรัฐ
รัฐ  รัฐเวอร์จิเนีย
พื้นที่สถิตินครบาลเวอร์จิเนียบีช–นอร์ฟอล์ก–นิวพอร์ต นิวส์
ก่อตั้งค.ศ. 1682
ก่อตั้งเทศบาลค.ศ. 1736
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีเคนนี อเล็กซานเดอร์ (D)
พื้นที่[1]
 • นครอิสระ96.40 ตร.ไมล์ (249.68 ตร.กม.)
 • พื้นดิน53.27 ตร.ไมล์ (137.98 ตร.กม.)
 • พื้นน้ำ43.13 ตร.ไมล์ (111.70 ตร.กม.)
ความสูง7 ฟุต (2.13 เมตร)
ประชากร
 (2553)
 • นครอิสระ242,803 คน
 • ประมาณ 
(2562)[2]
242,742 คน
 • ความหนาแน่น4,556.40 คน/ตร.ไมล์ (1,759.24 คน/ตร.กม.)
 • เขตเมือง1,047,869 คน
 • รวมปริมณฑล1,725,246 (อันดับที่ 37) คน
เขตเวลาUTC−5 (EST)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC−4 (EDT)
รหัสไปรษณีย์23501-23515, 23517-23521, 23523, 23529, 23541, 23551
รหัสพื้นที่757, 948 (planned)
FIPS code51-57000[3]
GNIS feature ID1497051[4]
Major Airportท่าอากาศยานนานาชาตินอร์ฟอล์ก
Rapid TransitHampton Roads Transit
เว็บไซต์www.norfolk.gov

อิซนิค แก้

อิซนิค
 
 
 
อิซนิค
พิกัด: 40°25′45″N 29°43′16″E / 40.42917°N 29.72111°E / 40.42917; 29.72111{{#coordinates:}}: ไม่สามารถมีป้ายกำกับหลักมากกว่าหนึ่งป้ายต่อหน้าได้
ประเทศตุรกี
ภูมิภาคมาร์มารา
จังหวัดบูร์ซา
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีคากัน อูสตา (AKP)
 • รองผู้ว่าราชการฮูเซยิน คาราเมเช
พื้นที่[5]
 • เขต736.51 ตร.กม. (284.37 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2012)[6]
 • เขตเมือง22,507 คน
 • เขต43,425
 • ความหนาแน่นเขต59 คน/ตร.กม. (150 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์16860
เว็บไซต์www.iznik.bel.tr

อิซนิค[7] (ตุรกี: İznik) เป็นเมืองและเป็นเขตการปกครองในจังหวัดบูร์ซาในประเทศตุรกี เดิมนั้นเมืองแห่งมีชื่อว่า นิไกอา (กรีก: Νίκαια, Níkaia) โดยทีชื่อใหม่ของเมืองก็แผลงมาจากชื่อนี้เช่นกัน ตัวเมืองตั้งอยู่ในทางตะวันออกสุดของทะเลสาบอิซนิค ซึ่งเป็นพื้นที่แอ่งน้ำอันอุดมสมบูรณ์ ล้อมรอบด้วยแนวเขาที่ตั้งอยู่ทางทิศเหนือและทิศใต้ เมืองแห่งนี้ตั้งอยู่ห่างจากอิสตันบูลไปทางตะวันออกเฉียงใต้เพียง 90 กิโลเมตร (56 ไมล์) ยกเว้นถนนที่อยู่รอบทะเลสาบอิซนิค

It was historically known as Nicaea (Greek: Νίκαια, Níkaia), from which its modern name also derives. The town lies in a fertile basin at the eastern end of Lake İznik, bounded by ranges of hills to the north and south. The town is only 90 kilometres (56 miles) southeast of Istanbul but by road it is 200 km (124 miles) around the Gulf of İzmit. It is 80 km (50 miles) by road from Bursa.

สงคราม แก้

สงครามนโปเลียน แก้

สงครามนโปเลียน
 
 
บน: ยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์
ล่าง: ยุทธการที่วอเตอร์ลู
วันที่ราว ค.ศ. 1803–ค.ศ. 1815
สถานที่
ผล ชัยชนะของสัมพันธมิตร
เกิดการประชุมแห่งเวียนนา
ผลลัพธ์เต็ม
คู่สงคราม
ฝ่ายสัมพันธมิตร:

จักรวรรดิฝรั่งเศสและพันธมิตร:
  สาธารณรัฐฝรั่งเศส (จนถึง ค.ศ. 1804)

  จักรวรรดิฝรั่งเศส (ตั้งแต่ ค.ศ. 1804)

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ


กำลัง
  • รัสเซีย: ทหารประจำการ, ทหารคอสแซคและทหารอาสา สูงสุด 900,000 นาย[23]
  • ปรัสเซีย: ทหารประจำการและทหารอาสา สูงสุด 320,000 นาย[24]
  • สหราชอาณาจักร: ทหารประจำการและทหารอาสา สูงสุด 250,000 นาย[25][ต้องการอ้างอิง]
  • ออสเตรีย, สเปน, โปรตุเกส, สวีเดนและรัฐสหสัมพันธมิตรอื่น ๆ : ทหารประจำการและทหารอาสา สูงสุด 1,000,000 - 2,000,000 นาย
รวมทหารประจำการและทหารอาสาทั้งหมด: สูงสุด 3,000,000 นาย
  • ฝรั่งเศส: ทหารประจำการและทหารอาสา สูงสุด 1,200,000 นาย[26]
  • รัฐบริวารและพันธมิตร: ทหารประจำการและทหารอาสา สูงสุด 500,000 - 1,000,000 นาย
รวมทหารประจำการและทหารอาสาทั้งหมด: สูงสุด 2,000,000 นาย
ความสูญเสีย
  • ออสเตรีย: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ 550,220 นาย (ค.ศ. 1792–1815)[27][28] (ไม่ทราบจำนวนทั้งหมด)
  • สเปน: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ มากกว่า 300,000 นาย[29] และเสียชีวิตจากทุกกรณี 586,000 นาย[30]
  • รัสเซีย: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ 289,000 นาย[28] (ไม่ทราบจำนวนทั้งหมด)
  • ปรัสเซีย: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ 134,000 นาย[28] (ไม่ทราบจำนวนทั้งหมด)
  • สหราชอาณาจักร: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ 32,232 นาย[31] และเสียชีวิตจากอาการบาดเจ็บ, โรค, อุบัติเหตุและกรณีอื่นๆ 279,574 นาย[31]
  • โปรตุเกส: เสียชีวิตหรือสูญหาย 250,000 นายขึ้นไป[32]
  • อิตาลี: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ 120,000 นาย[29]
  • ออตโตมัน: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ 50,000 นาย[33]
    เสียชีวิตทั้งหมด: 2,500,000 คน

ฝรั่งเศส: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ 306,000 นาย [34] เสียชีวิตจากอาการบาดเจ็บ, อุบัติเหตุหรือโรค 800,000 นาย[35]

  • พันธมิตร: เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ 65,000 นาย[35]
  • พลเรือนเสียชีวิต 600,000 ราย[35]
    เสียชีวิตทั้งหมด: 1,800,000 คน[36]
  1. Was a commander for the French Empire, as Marshal Jean-Baptiste Bernadotte, ค.ศ. 1804–1810.
    1. ค.ศ. 1805, ค.ศ. 1809, ค.ศ. 1813–1815
    2. ค.ศ. 1806–1807, ค.ศ. 1813–1815
    3. ค.ศ. 1804–1807, ค.ศ. 1812–1815
    4. ค.ศ. 1808–1815
    5. ค.ศ. 1804–1809, ค.ศ. 1812–1815
    6. ค.ศ. 1800–1807, ค.ศ. 1809–1815
    7. 7.0 7.1 7.2 ค.ศ. 1813–1815
    8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 ค.ศ. 1815
    9. ค.ศ. 1809
    10. ค.ศ. 1806–1807, ค.ศ. 1813–1814
    11. 11.0 11.1 11.2 11.3 ค.ศ. 1807–1812
    12. ค.ศ. 1806–1815
    13. ค.ศ. 1808–1813
    14. ค.ศ. 1809–1813
    15. ค.ศ. 1807–1814
    16. ค.ศ. 1804–1807, 1812–1813
    17. ค.ศ. 1803–1808
    18. 18.0 18.1 จนถึงก่อนยุทธการไลพ์ซิกใน ค.ศ. 1813
    19. จนถึง ค.ศ. 1813

สงครามนโปเลียน (ฝรั่งเศส: Guerres napoléoniennes; ค.ศ. 1803 – 1815) เป็นหนึ่งในความขัดแย้งที่สำคัญที่ทำให้จักรวรรดิฝรั่งเศสและพันธมิตร นำโดยนโปเลียนที่ 1 ต่อกรกับกลุ่มอำนาจในยุโรปที่ดูผันผวนซึ่งได้รวมตัวกันเป็นพันธมิตร ซึ่งได้รับการสนับสนุนทางการเงินและนำโดยสหราชอาณาจักร มันถูกสร้างขึ้นในช่วงเวลาอันสั้นๆ ของการปกครองฝรั่งเศสในยุโรปส่วนใหญ่ สงครามครั้งนี้เกิดจากข้อพิพาทที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับการปฏิวัติฝรั่งเศสและผลลัพธ์ของความขัดแย้งครั้งนี้ สงครามมักแบ่งออกเป็นความขัดแย้งห้าครั้ง แต่ละครั้งจะเรียกตามชื่อสหสัมพันธมิตรที่ต่อสู้กับนโปเลียน: สหสัมพันธมิตรครั้งที่สาม (ค.ศ. 1805) ครั้งที่สี่ (ค.ศ. 1806-07) ครั้งที่ห้า (ค.ศ. 1809) ครั้งที่หก (ค.ศ. 1813-14) และครั้งที่ 7 (ค.ศ. 1815) เป้าหมายของสงครามครั้งนี้คือการจัดตั้งรัฐบาลที่มีความมั่นคงในฝรั่งเศส ในขณะที่ได้แสดงให้ทั่วทั้งยุโรปเห็นว่า กองทัพที่พวกเขารวบรวมมาได้นั้นมีไว้เพื่อปกป้อง

เมื่อนโปเลียนได้ก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งกงสุลคนแรกของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1799 ได้รับช่วงต่อจากสาธารณรัฐอันวุ่นวาย ต่อมาเขาได้สร้างรัฐที่มีการเงินที่มั่นคง ระบบราชการที่แข็งแกร่ง และกองทัพที่ได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ในปี ค.ศ. 1805 ออสเตรียและรัสเซียได้จัดตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่สามและทำสงครามกับฝรั่งเศส ในการตอบโต้ นโปเลียนได้เอาชนะกองทัพรัสเซีย-ออสเตรียที่เป็นพันธมิตรกันที่เอาสเทอร์ลิทซ์ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1805 ซึ่งถือว่าเป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพระองค์ ในทางด้านทะเล บริติชได้เอาชนะกองทัพเรือร่วมกันของฝรั่งเศส-สเปนอย่างหนักหน่วงในยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805 ชัยชนะครั้งนี้ทำให้อังกฤษสามารถควบคุมทางทะเลและป้องกันเกาะอังกฤษจากการถูกบุกครอง ด้วยความกังวลเกี่ยวกับการเพิ่มอำนาจของฝรั่งเศส ปรัสเซียเป็นผู้นำในการก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่สี่กับรัสเซีย ซัคเซิน และสวีเดน และการเริ่มต้นของสงครามในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1806 นโปเลียนได้เอาชนะปรัสเซียอย่างรวดเร็วที่เจนาและรัสเซียที่ฟรายด์ลันด์ ได้นำพาความสงบสุขที่ไม่สบายใจมาสู่ทวีป แม้ว่าสันติภาพจะล้มเหลว เมื่อสงครามได้ปะทุขึ้นมาในปี ค.ศ. 1809 เมื่อสหสัมพันธมิตรครั้งที่ห้าซึ่งเตรียมการที่แย่ นำโดยออสเตรีย ซึ่งพ่ายแพ้อย่างรวดเร็วที่วากรัม

ด้วยความหวังที่จะแบ่งแยกและทำให้บริติชอ่อนแลลงทางเศรษฐกิจผ่านทางระบบทวีป นโปเลียนได้เปิดฉากการบุกครองโปรตุเกสซึ่งเป็นพันธมิตรเพียงหนึ่งเดียวของอังกฤษที่เหลืออยู่ในทวีปยุโรป ภายหลังจากการยึดครองลิสบอนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1807 และด้วยกองทหารฝรั่งเศสจำนวนมากที่อยู่ในสเปน นโปเลียนจึงฉวยโอกาสในการจัดการกับสเปน อดีตพันธมิตรของพระองค์ ซึ่งได้ทำการขับไล่ราชวงศ์สเปนที่ปกครองอยู่ออกไปและประกาศให้พระเชษฐาของพระองค์ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งสเปนแทนในปี ค.ศ. 1808 เป็นพระเจ้าโฮเซที่ 1 สเปนและโปรตุเกสได้ออกมาลุกฮือโดยได้รับการสนับสนุนจากบริติชและขับไล่ฝรั่งเศสออกจากคราบสมุทรไอบีเรียในปี ค.ศ. 1814 ภายหลังจากหกปีของการสู้รบ

ในขณะเดียวกัน รัสเซียไม่เต็มใจที่จะแบกรับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการค้าที่ลดลงและละเมิดระบบทวีปอยู่เป็นประจำ ทำให้นโปเลียนเปิดฉากการบุกครองรัสเซียครั้งใหญ่ในปี ค.ศ. 1812 ผลลัพธ์ของการทัพครั้งนี้ได้จบลงด้วยหายนะและความพินาศย่อยยับของกองทัพใหญ่ของนโปเลียน

ด้วยแรงบันดาลใจจากความพ่ายแพ้ ออสเตรีย ปรัสเซีย และรัสเซียได้ก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่หกและเริ่มการทัพครั้งใหม่เพื่อต่อกรกับฝรั่งเศส โดยเอาชนะนโปเลียนที่ไลพ์ซิชอย่างเด็ดขากในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1813 ภายหลังจากการสู้รบที่ยังหาบทสรุปไม่ได้หลายครั้ง จากนั้นฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้บุกครองฝรั่งเศสจากทางด้านตะวันออก ในขณะที่สงครามคาบสมุทรได้แผ่ขยายออกไปทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรได้เข้ายึดกรุงปารีสไว้ได้ เมื่อปลายเดือนมีนาคม ค.ศ. 1814 และบีบบังคับให้นโปเลียนสละราชบังลังก์ในเดือนเมษายน พระองค์ถูกเนรเทศไปยังเกาะเอลบาและราชวงศ์บูร์บงได้รับการฟื้นฟูกลับมาเข้าสู่อำนาจอีกครั้ง แต่นโปเลียนได้หลบหนีออกมาในในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1815 และกลับเข้ามาควบคุมฝรั่งเศสอีกครั้งจากราวหนึ่งร้อยวัน ภายหลังจากการก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด ฝ่ายสัมพันธมิตรได้เอาชนะพระองค์อย่างถาวรที่วอเตอร์ลูในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1815 และเนรเทศพระองค์ไปยังเกาะเซนต์เฮเลนา ซึ่งพระองค์ได้สวรรคตในอีกหกปีต่อมา

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาได้ทำให้ชายแดนของทวีปยุโรปได้ถูกเขียนขึ้นใหม่และนำมาซึ่งช่วงเวลาแห่งความสงบสุข สงครามได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อประวัติศาสตร์โลก รวมทั้งการแพร่กระจายของลัทธิชาตินิยมและเสรีนิยม การเถลิงอำนาจของบริติชในฐานะที่เป็นมหาอำนาจที่มีทั้งอำนาจควบคุมทางทะเลและเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของโลก การปรากฏตัวของขบวนการเพื่อเรียกร้องเอกราชในละตินอเมริกา และการล่มสลายของจักรวรรดิสเปนและจักรวรรดิโปรตุเกสในเวลาต่อมา การปรับโครงสร้างพื้นฐานของดินแดนเยอรมันและอิตาลีทำให้กลายเป็นรัฐขนาดใหญ่มากขึ้น และการได้รับแนะนำวิธีการใหม่ๆ ในการทำสงคราม แต่ยังรวมไปถึงกฎหมายทางแพ่งอีกด้วย

หมายเหตุ แก้

  1. คำว่า "จักรวรรดิออสเตรีย" ถูกนำไปใช้หลังจากนโปเลียนได้รับการราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1804 ด้วยเหตุนั้น จักรพรรดิฟรันทซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จึงได้รับบรรดาศักดิ์เป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Kaiser von Österreich) ภายหลังจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ยุติลงใน ค.ศ. 1806 ดังนั้น "จักรพรรดิแห่งออสเตรีย" จึงกลายเป็นบรรดาศักดิ์หลักของจักรพรรดิฟรันทซ์ ดัวยเหตุนี้ คำว่า "จักรวรรดิออสเตรีย" มักจะถูกใช้แทนที่คำว่า "จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์" เพื่อเกิดความกระชับเมื่อมีการพูดถึงสงครามนโปเลียน even though the two entities are not synonymous.
  2. ทั้งออสเตรียและปรัสเซียเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสอยู่ชั่วระยะหนึ่งและส่งกองทัพไปสนับสนุนการรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1812
  3. รัสเซียเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสหลังจากสนธิสัญญาทิลซิทในปี ค.ศ. 1807 แต่มายุติลงในปี ค.ศ. 1810 ที่ทำให้ฝรั่งเศสเข้ารุกรานรัสเซียในปี ค.ศ. 1812 ในช่วงนั้นรัสเซียก็ทำสงครามกับสวีเดน (ค.ศ. 1808-1809) และกับ จักรวรรดิออตโตมัน (ค.ศ. 1806-1812) และบางส่วนกับบริเตน (ค.ศ. 1807-1812)
  4. สเปนเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสจนกระทั่งฝรั่งเศสรุกรานในปี ค.ศ. 1808 จากนั้นฝรั่งเศสก็ต่อสู้ในสงครามคาบสมุทร
  5. สวีเดนประกาศสงครามกับสหราชอาณาจักรหลังจากพ่ายแพ้แก่รัสเซียในสงครามฟินแลนด์ (ค.ศ. 1808–1809)
  6. แฮโนเฟอร์เป็นรัฐร่วมประมุขร่วมกับสหราชอาณาจักร
  7. The Kingdom of Hungary participated in the war with separate Hungarian regiments[8][9] in the Imperial and Royal Army, and also by a traditional army ("insurrectio").[10] The Hungarian Diet voted to join in war and agreed to pay one third of the war expenses.
  8. The Ottoman Empire fought against Napoleon in the French Campaign in Egypt and Syria as part of the French Revolutionary Wars. During the Napoleonic era of 1803 to 1815, the Empire participated in two wars against the Allies: against Britain in the Anglo-Turkish War (1807–1809) and against Russia in the Russo-Turkish War (1806–1812). Russia was allied with Napoleon 1807–1810.
  9. ราชวงศ์กอญัรทำสงครามกับรัสเซียใน ค.ศ. 1804 ถึง 1813 ในขณะที่รัสเซียยังคงเป็นพันธมิตรกับนโปเลียนใน ค.ศ. 1807–1812.
  10. ซิซิลีที่ยังยังเป็นสหอาณาจักรกับเนเปิลส์กลายมาเป็นรัฐบริวารของฝรั่งเศสหลังจากยุทธการแคมโพเทเนเซในปี ค.ศ. 1806
  11. จักรวรรดิฝรั่งเศสผนวกราชอาณาจักรฮอลแลนด์ใน ค.ศ. 1810 กองทหารดัตช์ต่อสู้กับนโปเลียนในสมัยร้อยวันในปี ค.ศ. 1815
  12. จักรวรรดิฝรั่งเศสผนวกราชอาณาจักรอีทรูเรียใน ค.ศ. 1807
  13. ราชอาณาจักรเนเปิลส์เป็นพันธมิตรกับออสเตรียอยู่ชั่วระยะหนึ่งใน ค.ศ. 1814, เป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสอีกครั้งและต่อสู้กับออสเตรียระหว่างสงครามเนเปิลส์ในปี ค.ศ. 1815
  14. นโปเลียนก่อตั้งดัชชีวอร์ซอปกครองโดย ราชอาณาจักรแซกโซนีในปี ค.ศ. 1807 ก่อนหน้านั้นกองทัพของโปแลนด์ก็เข้าร่วมการต่อสู้ในกองทัพฝรั่งเศสแล้ว
  15. รัฐเยอรมันสิบหกรัฐที่เป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศส (รวมทั้งบาวาเรียและเวิร์ตเต็มแบร์ก) ก่อตั้งเป็นสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ในเดือนกรกฎาคมปี ค.ศ. 1806 หลังจากยุทธการเอาสเทอร์ลิทซ์ (ธันวาคม ค.ศ. 1805) และหลังจากยุทธการเยนา-เออร์ชเต็ดท์ (ตุลาคม ค.ศ. 1806) รัฐเยอรมันอื่นที่เดิมต่อสู้ร่วมกับฝ่ายต่อต้านฝรั่งเศสรวมทั้งแซกโซนีและเวสต์ฟาเลียก็หันกลับมาเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสและเข้าร่วมในสมาพันธรัฐ แต่แซกโซนีก็เปลี่ยนข้างอีกครั้งในปี ค.ศ. 1813 ระหว่างยุทธการไลพ์ซิกที่ทำให้รัฐอื่นรีบทำตามและประกาศสงครามกับฝรั่งเศส
  16. ทั้งสี่รัฐนี้[ไหน?] เป็นรัฐชั้นนำของสมาพันธ์ แต่สมาพันธ์ประกอบด้วยอาณาเขตของราชรัฐ, ราชอาณาจักรและดัชชี่ รวมทั้งหมด 43 แห่ง
  17. เดนมาร์ก-นอร์เวย์ยังคงรักษาความเป็นกลางมาจนถึงยุทธการโคเปนเฮเกน (ค.ศ. 1807) เดนมาร์กถูกบังคับให้ยกนอร์เวย์ให้แก่สวีเดนตามสนธิสัญญาคีลในปี ค.ศ. 1814 หลังจากการรบทางทหารของสวีเดนต่อนอร์เวย์ นอร์เวยก็รวมเป็นสหอาณาจักรกับสวีเดน

อื่นๆ แก้

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา แก้

 
แนวพรมแดนของรัฐต่าง ๆ ภายในยุโรป ที่ถูกตั้งขึ้นโดยการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (ฝรั่งเศส: Congrès de Vienne, เยอรมัน: Wiener Kongress) คือ การประชุมราชทูตจากรัฐต่าง ๆ ในยุโรป มีรัฐบุรุษออสเตรีย เคลเมนส์ เวนเซิล ฟอน เมทเทอร์นิช (Klemens Wenzel von Metternich) เป็นประธาน ประชุมกันที่เวียนนาระหว่างเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1814 จนถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1815[37] จุดประสงค์ของการประชุม คือ ตกลงกันในปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส, สงครามนโปเลียน และการยุบจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จุดประสงค์เป็นผลให้แผนที่ทางการเมืองของยุโรปต้องร่างใหม่หมด เป็นการก่อตั้งเขตแดนฝรั่งเศส, วอร์ซอของนโปเลียน, เนเธอร์แลนด์, รัฐต่าง ๆ ที่เดิมเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐแห่งไรน์, จังหวัดแซกโซนีของเยอรมนีและดินแดนต่าง ๆ ของอิตาลี และก่อตั้งเขตอิทธิพล (spheres of influence) ซึ่งประกอบด้วยฝรั่งเศส ออสเตรีย รัสเซีย และบริเตนผู้มีหน้าที่ตัดสินปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระดับท้องถิ่นหรือภูมิภาค "การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา" เป็นกลายมาเป็นโครงร่างแบบอย่างของการก่อตั้งสันนิบาตชาติและสหประชาชาติต่อมา ตามจุดประสงค์ของการแสวงหาความสันติสุขจากบรรดาภาคีสมาชิก

สาเหตุของการประชุมมาจากการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสและการยอมแพ้อย่างเป็นทางการในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1814 ที่เป็นการยุติสงครามที่ต่อเนื่องกันมาเป็นเวลาร่วมยี่สิบปี การต่อรองก็ยังคงดำเนินต่อไปแม้ว่าจะเกิดการต่อสู้ที่เกิดจากการเดินทางกลับมายึดอำนาจการครอบครองฝรั่งเศสคืนของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ระหว่างสมัยร้อยวัน (Hundred Days) ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1815 "กิจการสุดท้าย" ของการประชุมคือการลงนามเก้าวันก่อนที่จักรพรรดินโปเลียนจะทรงพ่ายแพ้ในยุทธการที่วอเตอร์ลู (Battle of Waterloo) เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1815

สิ่งที่เป็นความพิเศษของการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาก็คือเป็นการชุมนุมที่มิใช้การประชุมอย่างเป็นทางการ ที่มิได้มีการประชุมเต็มคณะ (plenary session) การพบปะกันส่วนใหญ่เป็นไปอย่างไม่เป็นทางการ การพบกันตัวต่อตัว หรือการประชุมระหว่างมหาอำนาจฝรั่งเศส ออสเตรีย รัสเซีย และบริเตน และบางครั้งก็รวมปรัสเซียกับผู้แทนผู้เข้าร่วมประชุมผู้อื่น แต่จะอย่างไรก็ตาม การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาก็เป็นเหตุการณ์แรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นการประชุมระดับทวีปที่พยายามหาทางตกลงสนธิสัญญาร่วมกัน แทนที่จะใช้ผู้ถือสาส์นติดต่อกันระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แม้ว่าข้อตกลงจากการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาจะมีการเปลี่ยนแปลงบ้างหลังจากนั้น แต่ก็กลายเป็นโครงสร้างทางการเมืองระดับนานาชาติของยุโรปมาจนกระทั่งเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี ค.ศ. 1914

ที่มา แก้

ความตกลงบางอย่างเริ่มขึ้นแล้วก่อนหน้าที่จะมีการประชุมในสนธิสัญญาปารีสระหว่างฝรั่งเศสกับสัมพันธมิตรที่หก (Sixth Coalition) และในสนธิสัญญาคีลซึ่งครอบคลุมปัญหาที่เกี่ยวกับสแกนดิเนเวีย สนธิสัญญาปารีสริเริ่มความคิดของการ "ประชุมทั่วไป" ที่ควรจะจัดขึ้นในกรุงเวียนนา และกล่าวว่าคำเชิญควรจะออกให้แก่ "ประเทศอำนาจทุกประเทศที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งสองฝ่ายในสงครามนี้"[38]

อ้างอิง แก้

  1. "2019 U.S. Gazetteer Files". United States Census Bureau. สืบค้นเมื่อ August 7, 2020.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ USCensusEst2019
  3. "U.S. Census website". United States Census Bureau. สืบค้นเมื่อ January 31, 2008.
  4. "US Board on Geographic Names". United States Geological Survey. October 25, 2007. สืบค้นเมื่อ January 31, 2008.
  5. "Area of regions (including lakes), km²". Regional Statistics Database. Turkish Statistical Institute. 2002. สืบค้นเมื่อ 2013-03-05.
  6. "Population of province/district centers and towns/villages by districts - 2012". Address Based Population Registration System (ABPRS) Database. Turkish Statistical Institute. สืบค้นเมื่อ 2013-02-27.
  7. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Nicaea[1]
  8. Arnold 1995, p. 36.
  9. The Austrian Imperial-Royal Army (Kaiserliche-Königliche Heer) ค.ศ. 1805 – 1809: The Hungarian Royal Army [2] เก็บถาวร 22 กุมภาพันธ์ 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  10. Fisher, Todd (2001). The Napoleonic Wars: The Empires Fight Back 1808–1812. Oshray Publishing. ISBN 9781841762982. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 September 2015. สืบค้นเมื่อ 18 June 2015.
  11. John Sainsbury (1842). Sketch of the Napoleon Museum. London. p. 15. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 December 2018. สืบค้นเมื่อ 13 January 2018.
  12. "The Royal Navy". Britannica Online. Encyclopædia Britannica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 December 2018. สืบค้นเมื่อ 15 February 2016.
  13. Schäfer 2002, p. 137.
  14. Edward et al., pp. 522–524
  15. "De Grondwet van 1815". Parlement & Politiek (ภาษาดัตช์). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 December 2018. สืบค้นเมื่อ 26 June 2014.
  16. Dwyer, Philip G. (4 February 2014). The Rise of Prussia 1700–1830. ISBN 9781317887034. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2020. สืบค้นเมื่อ 5 September 2017.
  17. Collier, Martin (2003). Italian unification, 1820–71. Heinemann Advanced History (First ed.). Oxford: Heinemann. p. 2. ISBN 0-435-32754-2. The Risorgimento is the name given to the process that ended with the political unification of Italy in 1871
  18. Riall, Lucy (1994). The Italian Risorgimento: state, society, and national unification (First ed.). London: Routledge. p. 1. ISBN 0-203-41234-6. The functional importance of the Risorgimento to both Italian politics and Italian historiography has made this short period (1815–60) one of the most contested and controversial in modern Italian history
  19. Walter, Jakob; Raeff, Marc (1996). The diary of a Napoleonic foot soldier. Princeton, N.J.
  20. Martyn Lyons p. 234–36
  21. Payne 1973, pp. 432–433.
  22. Esdaile 2009, p. [ต้องการเลขหน้า].
  23. Riehn 1991, p. 50.
  24. Leggiere 2014.
  25. Chandler & Beckett, p. 132
  26. John France (2011). Perilous Glory: The Rise of Western Military Power. Yale UP. p. 351. ISBN 978-0300177442.
  27. White 2014 cites Clodfelter
  28. 28.0 28.1 28.2 White 2014 cites Danzer
  29. 29.0 29.1 White 2014, Napoleonic Wars cites Urlanis 1971
  30. Canales 2004.
  31. 31.0 31.1 White 2014 cites Dumas 1923 citing Hodge
  32. White 2014 cites Payne
  33. Clodfelter
  34. White 2014.
  35. 35.0 35.1 35.2 Philo 2010.
  36. Bodart 1916, p. แม่แบบ:Page missing.
  37. "The Congress of Vienna, 1 November 1814 — 8 June 1815". The Victorian Web. 30 April 2002. สืบค้นเมื่อ 2009-01-09. {{cite web}}: |first= ไม่มี |last= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |bikini= ถูกละเว้น (help)
  38. Article XXXII. See Harold Nicolson, The Congress of Vienna, chap. 9.

ดูเพิ่ม แก้



อ้างอิง แก้