จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งใหม่ออกเป็น 6 เขตเลือกตั้ง ลดลงจากเดิม 7 เขตเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2557[1] แต่เท่ากับจำนวนเขตเลือกตั้งเดิมในปี พ.ศ. 2554 โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2554 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →
← พ.ศ. 2557 (โมฆะ)

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน992,876
ผู้ใช้สิทธิ76.65%
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย พลังประชารัฐ อนาคตใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 6 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 5 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น1 Steady0
คะแนนเสียง 192,761 164,616 163,177
% 26.70 22.80 22.60

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

ภาพรวม

แก้

แบ่งตามพรรค

แก้
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
เพื่อไทย 6 192,761 26.70% 5  1 83.33%
พลังประชารัฐ 6 164,616 22.80% 1  1 16.67%
อนาคตใหม่ 6 163,177 22.60% 0   0.00%
อื่น ๆ 156 201,467 27.90% 0   0.00%
ผลรวม 174 722,021 100.00% 6   100.00%

แบ่งตามเขต

แก้
เขตเลือกตั้ง เพื่อไทย พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 30,982 24.78% 31,767 25.40% 27,292 21.82% 35,011 28.00% 125,052 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 28,954 26.53% 27,725 25.40% 22,816 20.90% 29,652 27.17% 109,147 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 3 32,905 26.22% 29,171 23.25% 28,962 23.08% 34,453 27.45% 125,491 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 4 33,408 28.16% 25,342 21.36% 27,979 23.58% 31,927 26.90% 118,656 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 5 33,764 26.13% 32,972 25.52% 32,953 25.51% 29,504 22.84% 129,193 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 6 32,748 28.61% 17,639 15.41% 23,175 20.24% 40,920 35.74% 114,482 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 192,761 26.70% 164,616 22.80% 163,177 22.60% 201,467 27.90% 722,021 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

[2][3]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

แก้

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางเขน ตำบลบางกระสอ และตำบลท่าทราย) และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลท่าอิฐ ตำบลอ้อมเกร็ด ตำบลบางพลับ และตำบลเกาะเกร็ด)[4]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ เจริญ เรี่ยวแรง (5) 31,767 25.40
เพื่อไทย นิทัศน์ ศรีนนท์ (1)* 30,982 24.78
อนาคตใหม่ จริยา มหายศนันทน์ (7) 27,292 21.82
ประชาธิปัตย์ วิภาวัลย์ วรวรรณปรีชา (6) 21,225 16.97
เศรษฐกิจใหม่ จะเด็ด โชยะสิทธิ์ (21) 5,523 4.42
เสรีรวมไทย ธนดล เพชรบุรีกุล (10) 2,988 2.39
ภูมิใจไทย เกียรติภัส จำปาทองวิรัตน์ (3) 1,014 0.81
พลังท้องถิ่นไท พันตำรวจเอก พิชัย ปกป้อง (2) 726 0.58
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ญาดา ศรีหาภาค (11) 560 0.45
รวมพลังประชาชาติไทย สิทธิโชค เจริญรักษ์ (19) 551 0.44
ประชาชาติ สมเกียรติ นิ่มเจริญ (15) 308 0.25
ชาติพัฒนา ศุภชัย นาคศรีจันทร์ (9) 297 0.24
ไทยศรีวิไลย์ พรทิพย์ อินทศรี (27) 256 0.20
เพื่อชาติ ก้องเกียรติ จั่นเพิ้ง (4) 229 0.18
ชาติไทยพัฒนา วรเวช เจ็ดสี (22) 202 0.16
ประชาชนปฏิรูป จิณาพัฒน์ บุญเกตุ (14) 198 0.16
ประชาภิวัฒน์ สิริ ภู่สิงห์ (8) 127 0.10
มหาชน ภาคิณ เกษเพ็ชร์ (26) 118 0.09
พลังประชาธิปไตย ภาคิน วิญญาคูณ (20) 104 0.08
พลังไทยรักไทย วัฒนา เทพน้ำทิพย์ (25) 104 0.08
ครูไทยเพื่อประชาชน ธัชกร ทองยศภูมิ (23) 87 0.07
ประชานิยม พิธชานันท์ อ่อนละมูล (12) 85 0.07
ภราดรภาพ รักศรี แสงทองไพบูลย์ (16) 76 0.06
ทางเลือกใหม่ ชมน์ธนาฒย์ ชาติศิริทรัพย์ (13) 61 0.05
พลังชาติไทย พัฒนวงศ์ วงศ์มณีโรจน์ (18) 51 0.04
ประชาธรรมไทย จตุรภัทร วณิชชาวาชัย (24) 49 0.04
พลังไทสร้างชาติ ว่าที่ร้อยเอก บรรพต ครองผล (28) 38 0.03
เพื่อแผ่นดิน ปณิธาน รุ่งตรานนท์ (17) 36 0.03
ผลรวม 125,052 100.00
บัตรดี 125,052 95.41
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,704 2.06
บัตรเสีย 3,315 2.53
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 131,071 76.25
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 171,893 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 2

แก้

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลตลาดขวัญ ตำบลสวนใหญ่ ตำบลบางไผ่ ตำบลบางศรีเมือง ตำบลบางกร่าง ตำบลบางรักน้อย และตำบลไทรม้า)[4]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย จิรพงษ์ ทรงวัชราภรณ์ (1) 28,954 26.53
พลังประชารัฐ ฉลอง เรี่ยวแรง (3)* 27,725 25.40
อนาคตใหม่ ประชา มีเหม็ง (12) 22,816 20.90
ประชาธิปัตย์ เฉลิมพล นิยมสินธุ์ (2) 18,011 16.50
เศรษฐกิจใหม่ ภัชชกร เอมโอษฐ (25) 4,924 4.51
เสรีรวมไทย โกญจนาท สุมโนพรหม (10) 2,731 2.50
ภูมิใจไทย วิชยุตม์ รอดศิลป์ (9) 680 0.62
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ฐานะพัฒน์ รองรัตน์ (14) 550 0.49
รวมพลังประชาชาติไทย ซ่อนกลิ่น ทับทิมทอง (15) 384 0.35
ชาติไทยพัฒนา ปรเมศวร์ กุมารบุญ (8) 264 0.24
พลังท้องถิ่นไท นิติวัชร์ ธนจิรพิทักษ์ (6) 263 0.24
ชาติพัฒนา สนธยา แสงส่อง (4) 247 0.23
ไทยศรีวิไลย์ ตุลย์ ศาสตร์ส่องวิทย์ (28) 229 0.21
ทางเลือกใหม่ สิบตำรวจโท สมชาย ศรีเย็น (5) 202 0.19
ประชาชนปฏิรูป ธนัทธิดา ธนเสฐภักดี (20) 157 0.14
เพื่อชาติ อำนาจ เพ็ชร์สว่าง (7) 156 0.14
ประชาธิปไตยใหม่ จรูณโรจน์ จิระภคมงคล (21) 156 0.14
พลังไทยรักชาติ ไตรสิทธิ์ รุจิธนเศรษฐ์ (22) 104 0.10
ประชาภิวัฒน์ ว่าที่ร้อยตรี ขัตติยะ ภุมรินทร์ (11) 78 0.07
ประชาธรรมไทย สิบตำรวจโท สมคิด สิงห์ทอง (23) 73 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน ธนกฤต บำรุงศรี (24) 72 0.07
พลังประชาธิปไตย ศิรินทิพย์ สิงห์สังข์ (18) 71 0.07
เพื่อแผ่นดิน ขวัญเรือน ช่วยงาน (16) 56 0.05
ประชานิยม พัตราภรณ์ สิงห์เปี่ยม (19) 52 0.05
ไทรักธรรม ล่อง ไกรนรา (30) 46 0.04
พลังชาติไทย กนกนันท์ ผลงาม (27) 45 0.04
พลเมืองไทย กิตติ โสภณสังฆกิจ (13) 40 0.04
ภราดรภาพ ยุวดี คงศักดิ์สกุล (29) 34 0.03
พลังปวงชนไทย ทรรศนัย ทีน้ำคำ (26) 27 0.02
เพื่อนไทย ชยุต ทิณภัทร์เพชร (17)
ผลรวม 109,147 100.00
บัตรดี 109,147 95.09
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,577 2.24
บัตรเสีย 3,066 2.67
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 114,790 75.82
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 151,407 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 3

แก้

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอบางกรวย และอำเภอบางใหญ่ (เฉพาะตำบลบางใหญ่ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางแม่นาง)[4]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย มานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์ (9)✔ 32,905 26.22
พลังประชารัฐ อนุศักดิ์ เรืองชู (7) 29,171 23.25
อนาคตใหม่ อนุสรณ์ แก้ววิเชียร (4) 28,962 23.08
ประชาธิปัตย์ กฤษกร อัจฉริยะประสิทธิ์ (5) 18,344 14.62
เศรษฐกิจใหม่ จันทรัตน์ กุลทรัพย์เตชิต (28) 5,045 4.02
เสรีรวมไทย วสุ ผันเงิน (1) 3,540 2.82
ภูมิใจไทย วิฑูรย์ กรุณา (3) 3,055 2.43
รวมพลังประชาชาติไทย โกมุท เหมะรัต (12) 508 0.40
เพื่อชาติ ธำรงเกียรติ ส่องศิริ (8) 462 0.37
เพื่อแผ่นดิน ธนภัทร น่วมแหวว (22) 430 0.34
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ธรรมเนียบ มีแก้ว (15) 372 0.30
ไทยศรีวิไลย์ ศุภชัย หงษ์รัตนาภรณ์ (25) 306 0.24
ทางเลือกใหม่ เกริกหิรัญ แปลกประเสริฐ (6) 273 0.22
ชาติไทยพัฒนา พรหมพร พราห์มพร (14) 245 0.20
พลังท้องถิ่นไท ติยศ อภัยภักดิ์ (2) 212 0.17
ประชาชนปฏิรูป ปราโมทย์ เหล่าสุนทรวณิช (11) 192 0.15
พลังไทยรักไทย ทวนทอง เสนีวงศ์ ณ อยุธยา (29) 169 0.13
พลังประชาธิปไตย อภินันท์ เหลืองพิพัฒน์สร (21) 156 0.12
พลังไทยรักชาติ เผด็จ พิษณุแสง (27) 153 0.12
ประชาภิวัฒน์ ชยพล เทพรัตน์ (10) 146 0.12
ครูไทยเพื่อประชาชน ธนัช กระจ่างงาม (24) 116 0.09
พลเมืองไทย อิทธิพล คงพสิษฐ์พร (13) 115 0.09
ชาติพัฒนา ชวิน กุลประเสริฐ (17) 114 0.09
พลังธรรมใหม่ พิชญาภา เพชรพันธ์ (18) 111 0.09
พลังชาติไทย กรวัฒน์ วิเศษสินธุ์ (19) 98 0.08
ประชาชาติ ธรรมยุทธ สุทธิวิชา (16) 74 0.06
ประชานิยม พลหาญ นพทีปกังวาล (23) 57 0.05
ประชาธิปไตยใหม่ บัณฑูรย์ รินทระ (26) 50 0.04
พลังไทสร้างชาติ ศรีนันท์ จันทน์วิเชียร (32) 48 0.04
มหาชน ธนัท ประทุมแก้ว (30) 46 0.04
พลังปวงชนไทย ฐิติพงษ์ หมื่นหาญ (31) 16 0.01
เพื่อนไทย วิวัฒน์ หงษ์โต (20)
ผลรวม 125,491 100.00
บัตรดี 125,491 94.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,987 2.25
บัตรเสีย 4,157 3.13
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 132,635 78.03
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 169,973 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 4

แก้

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลปากเกร็ด ตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบ้านใหม่ ตำบลบางพูด ตำบลบางตะไนย์ ตำบลคลองพระอุดมและตำบลคลองข่อย)[4]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย มนตรี ตั้งเจริญถาวร (7)* 33,408 28.16
อนาคตใหม่ ไพบูลย์ กิจวรวุฒิ (1) 27,979 23.58
พลังประชารัฐ ณรงค์ จันทนประดิษฐ (8)✔ 25,342 21.36
ประชาธิปัตย์ วิรัตน์ บรรดาศักดิ์ (4) 21,160 17.83
รวมพลังประชาชาติไทย ทองใบ เสริฐสอน (3) 3,890 3.28
เสรีรวมไทย เทพธาดา กรอบบาง (12) 2,787 2.35
ภูมิใจไทย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ (9) 991 0.84
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย จิรันธนิน ประพันธ์โรจน (16) 511 0.43
พลังท้องถิ่นไท มนัส ผลพิบูลย์ (2) 309 0.26
ชาติไทยพัฒนา จุมพล เตชศรีสุธี (13) 239 0.20
ชาติพัฒนา อนุชิต สุวรรณธาดา (5) 238 0.20
เพื่อชาติ สมบูรณ์ สนิท (14) 226 0.19
ไทยศรีวิไลย์ พีรพัฒน์ ผาสุข (27) 226 0.19
ประชาชนปฏิรูป สุรพล แสงสุคนธ์ (18) 214 0.18
เพื่อแผ่นดิน อำนวย สุขขี (6) 157 0.13
พลังไทยรักไทย อธิป แท่นรัตนกุล (24) 140 0.12
ประชาชาติ วันชัย บุนนาค (15) 114 0.10
มหาชน ชวธีร์ คุปตะวาทิน (26) 101 0.09
พลังชาติไทย สินธพ ฟักเล็ก (21) 90 0.08
ทางเลือกใหม่ ประดิษฐ์ แน่วแน่ (11) 89 0.08
พลังประชาธิปไตย วรพจน์ ศรีนอบน้อม (23) 87 0.07
ประชาภิวัฒน์ ชนิตา จอมพงษ์ (10) 79 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน ภทิยาลักษณ์ ผิวสอาด (22) 74 0.06
ประชานิยม วีระศักดิ์ บุญส่ง (20) 55 0.05
พลเมืองไทย ศภัคชคง สมบูรณ์สุข (19) 48 0.04
ไทรักธรรม ศิยาภรณ์ สิงห์กล้า (29) 48 0.04
พลังไทสร้างชาติ พันทิพย์ บุญเกิด (28) 34 0.03
ประชาธรรมไทย นพรัตน์ อิ่มมาก (25) 20 0.02
เพื่อนไทย ไพรัตน์ หาญรักษ์ (17)
ผลรวม 118,656 100.00
บัตรดี 118,656 94.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,711 2.17
บัตรเสีย 3,613 2.89
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 124,980 75.51
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 165,512 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 5

แก้

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอบางใหญ่ (เฉพาะตำบลบางม่วง ตำบลบางเลน และตำบลเสาธงหิน) และอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางรักใหญ่ ตำบลบางรักพัฒนา ตำบลพิมลราชและตำบลโสนลอย)[4]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วันชัย เจริญนนทสิทธิ์ (6)* 33,764 26.13
พลังประชารัฐ ทศพล เพ็งส้ม (8)✔ 32,972 25.52
อนาคตใหม่ ปราโมทย์ พันธุเกตุ (10) 32,953 25.51
ประชาธิปัตย์ จำลอง ขำสา (5) 18,406 14.25
เสรีรวมไทย เสนอ ทรัพย์เย็น (13) 3,575 2.77
ภูมิใจไทย ณัฐพัชร์ ทิมดี (4) 2,024 1.57
ชาติไทยพัฒนา สุเทพ นิลน้อย (1) 1,231 0.95
รวมพลังประชาชาติไทย ทชากร ศักดาบูรณโภคิน (9) 742 0.57
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย เพ็ชรรัตน์ บุญประเสริฐ (14) 658 0.51
เพื่อชาติ ปิยภูมิ ศักดาพงศ์ (7) 432 0.33
พลังท้องถิ่นไท อภิชา อำไพจิตต์ (2) 287 0.22
ไทยศรีวิไลย์ จันทร์หอม วณานิชย์ (21) 276 0.21
ประชาชนปฏิรูป กัญญนันทน์ ยศวัตชยานันท์ (11) 275 0.21
ชาติพัฒนา พันโท โกมล ปานนาค (12) 221 0.17
พลังประชาธิปไตย อนัญญา เผือกพิพัฒน์ (19) 219 0.17
พลังไทยรักไทย ศรีลภัส ศรีทอง (22) 215 0.17
ทางเลือกใหม่ อัศนินท์ พิศาลอัครภัทร์ (16) 185 0.14
ภราดรภาพ ธัมมะภูมิ ธีรปภพภูมิ (25) 172 0.13
ประชาภิวัฒน์ ไพฑูรย์ พึ่งเพ็ง (3) 170 0.13
พลังชาติไทย บุณณดา ภูมิศรี (20) 110 0.09
ประชานิยม วัชรินทร์ ป้อมหิน (15) 84 0.07
เพื่อแผ่นดิน พันตำรวจเอก อาณัตชัย ทรงสอาด (17) 72 0.06
มหาชน ศยามล ประทุมแก้ว (23) 60 0.05
พลเมืองไทย ไพจิตร จันทรโชติ (24) 49 0.04
พลังปวงชนไทย วีรพล วาณิชย์ธนเศรษฐ (18) 41 0.03
ผลรวม 129,193 100.00
บัตรดี 129,193 95.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,561 2.62
บัตรเสีย 3,090 2.27
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 135,844 77.54
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 175,189 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 6

แก้

เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอไทรน้อยและอำเภอบางบัวทอง (เฉพาะตำบลบางบัวทอง ตำบลละหาร ตำบลลำโพ และตำบลบางคูรัด)[4]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี เขต 6
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ภณณัฏฐ์ ศรีอินทร์สุทธิ์ (4) 32,748 28.61
ประชาธิปัตย์ สัมฤทธิ์ ด้วงโสน (12) 27,782 24.27
อนาคตใหม่ จำลอง ช่วยรอด (2) 23,175 20.24
พลังประชารัฐ ปรีชา สุบิน (6) 17,639 15.41
เศรษฐกิจใหม่ ศักราช เม่นทอง (25) 3,032 2.65
เสรีรวมไทย ณัฐวุฒิ อินแดง (11) 2,946 2.57
ภูมิใจไทย พิมพ์พัชชา หยิมการุณ (10) 2,270 1.98
ชาติไทยพัฒนา ยงยุทธ แก้วน้อย (5) 649 0.57
เพื่อชาติ กิตติกร รุ่งสว่าง (8) 516 0.45
ประชาชาติ อนุสรา มู่ฮัมหมัด (16) 500 0.44
ไทยศรีวิไลย์ วิรัตน์ พ่วงเพ็ชร (26) 350 0.31
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ปฐม กัลยาณธรรม (14) 342 0.30
ทางเลือกใหม่ สุนทร บัวกลิ่น (9) 319 0.28
พลังประชาธิปไตย ปัณฑ์ณัฐ สิทธิศักดิ์ (24) 278 0.24
ชาติพัฒนา ณัฐปัณฑ์ ดาวเรือง (3) 266 0.23
ประชาชนปฏิรูป กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล (1) 251 0.22
รวมพลังประชาชาติไทย ปัญญดา ญาณวิชรา (17) 234 0.20
รวมใจไทย รวิชญ์ มันมือเสือ (13) 189 0.17
พลังชาติไทย พันเอก สมภูมิ พิบูลย์สวัสดิ์ (22) 175 0.15
พลังท้องถิ่นไท มลฑล ปั้นเขียว (23) 158 0.14
ประชาภิวัฒน์ บุญหลง อาจจิต (7) 134 0.12
พลังไทยรักไทย พรสุปรีฐ์ บุปผานนทพัฒน์ (29) 91 0.08
ครูไทยเพื่อประชาชน เอนก อัจฉริยะบุตร (28) 86 0.07
ภราดรภาพ กฤษฏ์หิรัญ พิชญาภัคปุณณาสา (20) 60 0.05
มหาชน ธนกฤตฐิ์ ทองกล่ำ (31) 59 0.05
ประชาธิปไตยใหม่ ละไม คำมีมา (18) 58 0.05
ประชานิยม วรลักษณ์ ติมลตรี (15) 55 0.05
เพื่อแผ่นดิน กฤตติพัฒน์ เชาวลิต (19) 54 0.05
ประชาธรรมไทย ว่าที่ร้อยเอก กงกฤช เชื้อศรีสกุล (27) 37 0.03
พลังไทสร้างชาติ ชินกฤต บุญประกอบ (30) 29 0.03
เพื่อนไทย อะห์มัด การพงศรี (21)
ผลรวม 114,482 100.00
บัตรดี 114,482 94.02
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,401 1.97
บัตรเสีย 4,878 4.01
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 121,761 76.63
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 158,902 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 17 Feb 2019.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-25. สืบค้นเมื่อ 2021-09-08.
  3. "ELECT LIVE". elect.thematter.co.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 101 ก. สืบค้นเมื่อ 8 Mar 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้