ฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

(เปลี่ยนทางจาก Thailand national under-23 football team)

ฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี หรือ ฟุตบอลทีมชาติไทยชุดโอลิมปิก เป็นฟุตบอลทีมชาติไทยในรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี และ 22 ปี สำหรับการแข่งขันโอลิมปิก, เอเชียนเกมส์ และซีเกมส์ รวมไปถึงการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
Shirt badge/Association crest
ฉายาช้างศึก
สมาคมสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
สมาพันธ์ย่อยAFF (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
สมาพันธ์AFC (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนทากายูกิ นิชิกายะ
กัปตันสิทธา บุญหล้า
สนามเหย้าราชมังคลากีฬาสถาน
รหัสฟีฟ่าTHA
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
 บังกลาเทศ 2–3 ไทย 
(โซล ประเทศเกาหลีใต้; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2534)
ชนะสูงสุด
 ไทย 9–0 ติมอร์-เลสเต 
(เวียงจันทน์ ประเทศลาว; 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552)
แพ้สูงสุด
 ไทย 0–6 ญี่ปุ่น 
(กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย; 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542)
เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 2016)
ผลงานดีที่สุดรอบก่อนชิงชนะเลิศ (2020)
เอเชียนเกมส์
เข้าร่วม5 (ครั้งแรกใน 2002)
ผลงานดีที่สุดอันดับ 4 (2002, 2014)
ซีเกมส์
เข้าร่วม12 (ครั้งแรกใน 2001)
ผลงานดีที่สุด เหรียญทอง (7 ครั้ง)

โดยทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี ได้เหรียญทองซีเกมส์ มากกว่าทุกทีมชาติในอาเซียน โดยชนะเลิศถึง 7 ครั้ง

ผลการแข่งขัน

แก้

      ชนะ       เสมอ       แพ้

พ.ศ. 2562

แก้
21 กุมภาพันธ์ 2562 เอเอฟเอฟ ยู-22
รอบแบ่งกลุ่ม
เวียดนาม  0–0  ไทยพนมเปญ ประเทศกัมพูชา
15:30 (UTC+7) รายงาน สนามกีฬา: สนามกีฬาโอลิมปิกพนมเปญ
ผู้ชมในสนาม: 2,718 คน
ผู้ตัดสิน: Khoun Virak (กัมพูชา)

พ.ศ. 2563

แก้

พ.ศ. 2564

แก้
25 ตุลาคม 3107 เอเอฟซี ยู-23 รอบคัดเลือก  ไทย1–1  มองโกเลียอูลานบาตาร์, มองโกเลีย
10:00 UTC+7 รายงาน สนามกีฬา: เอ็มเอฟเอฟ ฟุตบอล เซ็นเตอร์
ผู้ชมในสนาม: 312
ผู้ตัดสิน: Yoshimi Yamashita (ญี่ปุ่น)
28 ตุลาคม 3107 เอเอฟซี ยู-23 รอบคัดเลือกลาว  0–3  ไทยอูลานบาตาร์, มองโกเลีย
15:00 UTC+7 รายงาน สนามกีฬา: เอ็มเอฟเอฟ ฟุตบอล เซ็นเตอร์
ผู้ชมในสนาม: 128
ผู้ตัดสิน: Akhrol Riskullayev (อุซเบกิสถาน)
31 ตุลาคม 3107 เอเอฟซี ยู-23 รอบคัดเลือกไทย  0–0  มาเลเซียอูลานบาตาร์, มองโกเลีย
10:00 UTC+7 รายงาน สนามกีฬา: เอ็มเอฟเอฟ ฟุตบอล เซ็นเตอร์
ผู้ชมในสนาม: 58
ผู้ตัดสิน: Sadullo Gulmurodi (ทาจิกิสถาน)

พ.ศ. 2565

แก้
16 กุมภาพันธ์ 3108 เอเอฟเอฟ ยู-23 รอบแบ่งกลุ่มไทย  3-1  สิงคโปร์พนมเปญ, ประเทศกัมพูชา
19:00 UTC+7 Fandi   16' สนามกีฬา: ปรินซ์ สเตเดียม
ผู้ชมในสนาม: 570 คน
ผู้ตัดสิน: Yadi Nurcahya (อินโดนีเซีย)
22 กุมภาพันธ์ 3108 เอเอฟเอฟ ยู-23 รอบแบ่งกลุ่มเวียดนาม  1–0  ไทยพนมเปญ, ประเทศกัมพูชา
19:00 UTC+7 Nguyễn Trung Thành   29' รายงาน สนามกีฬา: ปรินซ์ สเตเดียม
ผู้ชมในสนาม: 1,845 คน
ผู้ตัดสิน: Tuan Yasin (มาเลเซีย)
23 มีนาคม 3108 ดูไบคัพไทย  0–1  กาตาร์ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
23:00 UTC+4
สนามกีฬา: ดูไบ โปลิส สเตเดียม
26 มีนาคม 3108 ดูไบคัพจีน  4–2  ไทยดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
19:00 UTC+4
สนามกีฬา: ดิ เซเว่นส์ สเตเดียม
29 มีนาคม 3108 ดูไบคัพไทย  1–2  อิรักดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
19:00 UTC+4 สนามกีฬา: ดิ เซเว่นส์ สเตเดียม
9 พฤษภาคม 3108 ซีเกมส์ 2021 รอบแบ่งกลุ่มไทย  5–0  สิงคโปร์นามดิ่ญ, เวียดนาม
19:00 UTC+7 เดวิส   45+1' (ลูกโทษ)
ฮ. สจวร์ต   48' (เข้าประตูตัวเอง)
เอกนิษฐ์   51'66'
กรวิชญ์   81'
รายงาน สนามกีฬา: สนามกีฬาเทียนเจื่อง
ผู้ชมในสนาม: 28,998
ผู้ตัดสิน: Adam Fazeel (Maldives)
11 ธันวาคม 3108 กระชับมิตรไทย  0–1  ลาวอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี, ไทย
17:30 UTC+7 สนามกีฬา: สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต
14 ธันวาคม 3108 กระชับมิตรไทย  5-0  ลาวอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี, ไทย
17:30 UTC+7 สนามกีฬา: สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต

พ.ศ. 2566

แก้
28 มีนาคม 2566 โดฮาคัพคูเวต  1–0  ไทยโดฮา, กาตาร์
03:00 UTC+7
สนามกีฬา: อัลฆ็อรรอฟะฮ์ สเตเดียม
6 พฤษภาคม 2566 ซีเกมส์ 2023 รอบแบ่งกลุ่มมาเลเซีย  0–2  ไทยพนมเปญ, กัมพูชา
16:00 UTC+7 สนามกีฬา: Prince Stadium
ผู้ชมในสนาม: 2,473
ผู้ตัดสิน: Kim Hee-gon (South Korea)
8 พฤษภาคม 2566 ซีเกมส์ 2023 รอบแบ่งกลุ่มลาว  1–4  ไทยพนมเปญ, กัมพูชา
16:00 UTC+7 สนามกีฬา: Prince Stadium
ผู้ตัดสิน: Clifford Daypuyat (Philippines)
11 พฤษภาคม 2566 ซีเกมส์ 2023 รอบแบ่งกลุ่มเวียดนาม  1–1  ไทยพนมเปญ, กัมพูชา
19:00 UTC+7 สนามกีฬา: Prince Stadium
ผู้ชมในสนาม: 5,402
ผู้ตัดสิน: Ammar Ashkanani (Kuwait)
24 กันยายน 2566 เอเชียนเกมส์ 2022 รอบแบ่งกลุ่มไทย  1–1  คูเวตจินหัว, ประเทศจีน
19:30 UTC+8 รายงาน สนามกีฬา: สนามกีฬามหาวิทยาลัยครูเจ้อเจียงตะวันออก
ผู้ตัดสิน: Alex King (ออสเตรเลีย)
15 พฤศจิกายน 2566 เกมกระชับมิตรไทย  2–2  โปลิศ เทโรปทุมธานี, ประเทศไทย
17:00 UTC+7 กุสตาฟส์สัน   43'
คคนะ   105'
ดาเบลเล   49'
บาโบ   84'
สนามกีฬา: ยามาโอกะ ฮานาซากะ เทรนนิ่ง เซนเตอร์
18 พฤศจิกายน 2566 เกมกระชับมิตรไทย  1–2  ชลบุรีปทุมธานี, ประเทศไทย
17:00 UTC+7 คคนะ   87' ภาณุพงษ์   5'
อ็อตตาร่า   79'
สนามกีฬา: ยามาโอกะ ฮานาซากะ เทรนนิ่ง เซนเตอร์

พ.ศ. 2567

แก้

พ.ศ. 2568

แก้
19 มีนาคม 2568 โดฮาคัพสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  1–0  ไทยโดฮา, กาตาร์
01:15 UTC+7 สนามกีฬา: ซาอุด บิน อับดุลราห์มาน สเตเดียม
ผู้ตัดสิน: อับดุลระห์มาน อาลมุลลา (กาตาร์)
22 มีนาคม 2568 โดฮาคัพกาตาร์  2-1  ไทยโดฮา, กาตาร์
01:15 UTC+7
  • ณัฐวุฒิ   52' (o.g.)
  • อัล อับดุลลาห์   54'
สนามกีฬา: อับดุลลา บิน คาลิฟา สเตเดียม
ผู้ตัดสิน: Nasser Aiysh (กาตาร์)
26 มีนาคม 2568 โดฮาคัพไทย  1-3  โครเอเชียโดฮา, กาตาร์
00:30 UTC+7
  •   71' ซโวนาเร็ค
  •   76' วุสโควิช
  •   84' (จุดโทษ) อันทูโนวิช
สนามกีฬา: ธานี บิน ยาสซิม สเตเดียม

ผู้เล่น

แก้

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

แก้

รายชื่อผู้เล่น 23 คน สำหรับการเก็บตัวลุยศึกโดฮาคัพ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2567

จำนวนนัดที่ลงเล่นให้ทีมชาติและจำนวนประตูที่ยิงได้นับถึงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2567 หลังแข่งขันกับ   ทาจิกิสถาน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK   ศรวัสย์ โพธิ์สมัน (สงขลา เอฟซี)
20 GK   ศิรัสวุฒิ วงค์เรือนคำ (สิงห์ เชียงราย)
23 GK   ภูมิวรพล วรรณบุตร (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
15 DF   ชัยพล อดทน (นครปฐม ยูไนเต็ด)
2 DF   อรรถพล แสงทอง (นครปฐม ยูไนเต็ด)
12 DF   ณัฐวุฒิ วงษ์สว่าง (บีจี ปทุม ยูไนเต็ด)
3 DF   ภัทรพล ศึกษากิจ (สุโขทัย เอฟซี)
22 DF   กิตติพัฒน์ กุลภา (ระยอง เอฟซี)
16 DF   พิชิตชัย เศียรกระโทก (โปลิศ เทโร)
13 DF   ธีร์กวิน จันทร์ศรี (อยุธยา ยูไนเต็ด)
4 DF   ชานนท์ ทำมา (จันทบุรี เอฟซี)
6 MF   สิทธา บุญหล้า (การท่าเรือ)
7 MF   คคนะ คำยก (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
5 MF   เสกสรรค์ ราตรี (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
14 MF   พันธมิตร ประพันธ์ (พีที ประจวบ)
21 MF   ธนาวุฒิ โพธิ์ชัย (หนองบัว พิชญ)
17 MF   นรากรณ์ แก่งกระโทก (อยุธยา ยูไนเต็ด)
11 MF   สิรภพ วันดี (ชลบุรี เอฟซี)
8 MF   ปฏิภาณชัย โพธิ์เทพ (ชัยนาท ฮอร์นบิล)
18 MF   ชวัลวิทย์ แซ่เล้า (พราม แบงค็อก)
9 FW   ยศกร บูรพา (พีที ประจวบ)
10 FW   ชินวัตร ประจวบมอญ (สิงห์ เชียงราย)
19 FW   ธีรภัทร ปรือทอง (บีจี ปทุม ยูไนเต็ด)

ผู้ฝึกสอนปัจจุบัน

แก้
ตำแหน่ง ชื่อ
ที่ปรึกษา   มาซาทาดะ อิชิอิ
หัวหน้าผู้ฝีกสอน   ทาคายูกิ นิชิกายะ
ผู้ช่วยผู้ฝีกสอน   ภาณุพงศ์ ผิวอ่อน
  จุน ฮิราบายาชิ
ผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตู   กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์
ผู้ฝึกสอนฟิตเนส  
วิเคราะห์การแข่งขัน  
แพทย์ประจำทีม   นพ. ภคภณ อิสรไกรศีล
นักกายภาพ   โยเฮ ชิรากิ
  สุวิชชา นอรดี
ล่ามแปลภาษา   ภูรินทร์ จิวศรี
หมอนวด   อำนวย สักเล็บประดู่
  ทรงวุฒิ ขำฟุ้ง
เจ้าหน้าที่ทีม   สิริชัย กิโมโต
  สุพัฒน์ พลยุทธภูมิ
  ศุภกิตติ์ วิเศษอนุพงษ์
  ศรายุทธ กล่ำถาวร

หัวหน้าผู้ฝึกสอน

แก้
ชื่อ สัญชาติ ปีที่คุม การแข่งขัน
Doldjs Otkar   2001

ซีเกมส์ 2001  เหรียญทอง

ปีเตอร์ วิธ   2002

เอเชียนเกมส์ 2002 – อันดับ 4

คาร์ลอส โรแบร์โต   2003–2004 ซีเกมส์ 2003  เหรียญทอง
ชัชชัย พหลแพทย์   2004
ซิกฟรีด เฮลด์   2004
ชาญวิทย์ ผลชีวิน   2005–2006 ซีเกมส์ 2005  เหรียญทอง
เอเชียนเกมส์ 2006 – รอบ 8 ทีมสุดท้าย
ประพล พงษ์พานิช   2007
ทองสุข สัมปหังสิต   2007 ซีเกมส์ 2007  เหรียญทอง
สตีฟ ดาร์บี   2009 ซีเกมส์ 2009 – รอบแบ่งกลุ่ม
ไบรอัน ร็อบสัน   2010 เอเชียนเกมส์ 2010 – รอบ 8 ทีมสุดท้าย
ชาญวิทย์ ผลชีวิน   2011
ประพล พงษ์พานิช   2011 ซีเกมส์ 2011 – รอบแบ่งกลุ่ม
อาเลชังดรี ปอลกิง   2012 ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 22 ปี 2013 รอบคัดเลือก – รอบแบ่งกลุ่ม
เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง   2013–2015 ซีเกมส์ 2013  เหรียญทอง
เอเชียนเกมส์ 2014 – อันดับ 4
โชคทวี พรหมรัตน์   2015 ซีเกมส์ 2015  เหรียญทอง
เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง   2016 ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2016 – รอบแบ่งกลุ่ม
วรวุฒิ ศรีมะฆะ   2016–2017 ดูไบคัพชนะเลิศ
ซีเกมส์ 2017  เหรียญทอง
ซอรัน ยันคอวิช   2017–2018 ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 – รอบแบ่งกลุ่ม
วรวุฒิ ศรีมะฆะ   2018 เอเชียนเกมส์ 2018 – รอบแบ่งกลุ่ม
อาเลชังดรี กามา   2018–2019 ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 22 ปี 2019 – รองชนะเลิศ
เมอร์ไลออนคัพ 2019 – รองชนะเลิศ
อากิระ นิชิโนะ[1]   2019–2021 ซีเกมส์ 2019 – รอบแบ่งกลุ่ม
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 – รอบก่อนรองชนะเลิศ
วรวุฒิ ศรีมะฆะ   2021–2022 ดูไบคัพ – อันดับ 10[2]
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2022 – รอบแบ่งกลุ่ม
ซัลบาดอร์ บาเลโร การ์เซีย (ชั่วคราว)[3]   2022 ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 22 ปี 2022 – รองชนะเลิศ
อาเลชังดรี ปอลกิง (ชั่วคราว)   2022 ซีเกมส์ 2021  เหรียญเงิน
อิสระ ศรีทะโร   2022–2024 โดฮาคัพ – อันดับ 4
ซีเกมส์ 2023  เหรียญเงิน
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2023 – อันดับ 3
เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024 รอบคัดเลือก – ผ่านเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย
เอเชียนเกมส์ 2022 – รอบ 16 ทีมสุดท้าย
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันตก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024 – อันดับ 7

เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024 – รอบแบ่งกลุ่ม

ทาคายูกิ นิชิกายะ   2024–ปัจจุบัน โดฮาคัพ 2025 – อันดับที่ 6

การแข่งขัน

แก้

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี

แก้
สถิติในฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
  2013 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก - - - - - - -
  2016 รอบแบ่งกลุ่ม อันดับที่ 13 3 0 2 1 3 7
  2018 รอบแบ่งกลุ่ม อันดับที่ 16 3 0 0 3 1 7
  2020 รอบก่อนรองฯ อันดับที่ 6 4 1 1 2 7 4
  2022 รอบแบ่งกลุ่ม อันดับที่ 9 3 1 1 1 5 3
  2024 รอบแบ่งกลุ่ม 3 1 0 2 2 6

เกียรติประวัติ

แก้

ระดับนานาชาติ

แก้
  •   เหรียญทองแดง (1): 2007

ระดับทวีป

แก้
  • อันดับที่ 4 (2): 2002, 2014
  • รอบแปดทีมสุดท้าย (2): 2006, 2010

ระดับภูมิภาค

แก้
  •   ชนะเลิศ (1): 2005

รายการอื่น

แก้
  •   ชนะเลิศ (1): 2016
  •   รองชนะเลิศ (1): 2005
  •   เหรียญทองแดง (1): 2009
  • บีไอดีซีคัพ (กัมพูชา)
  •   ชนะเลิศ (1): 2013

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. ""อากิระ นิชิโนะ" คุมทีมชาติไทยชุดใหญ่ และ ทีมชาติไทย U23". สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 1 กรกฎาคม 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-01. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  2. "ทีมชาติไทยU23"เศร้า พ่าย 3 เกมติด จมบ๊วย ฟุตบอล"ดูไบคัพ"
  3. "ซัลบาดอร์" ถกแผนงานทีมสตาฟฟ์ก่อน "ทีมชาติไทย" ยู-23 ลุยศึกชิงแชมป์อาเซียน

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้