ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2022 รอบคัดเลือก

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2022 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี เพื่อคัดเลือกทีมเข้าสู่การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2022

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี รอบคัดเลือก 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพกาตาร์ (กลุ่มเอ)
ทาจิกิสถาน (กลุ่มบี)
บาห์เรน (กลุ่มซี)
อุซเบกิสถาน (กลุ่มดี)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (กลุ่มอี)
จอร์แดน (กลุ่มเอฟ)
ทาจิกิสถาน (กลุ่มจี)
สิงคโปร์ (กลุ่มเอช)
คีร์กีซสถาน (กลุ่มไอ)
มองโกเลีย (กลุ่มเจ)
ญี่ปุ่น (กลุ่มเค)
วันที่23 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564[1]
ทีม38 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่12 (ใน 10 เมืองเจ้าภาพ)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน50
จำนวนประตู146 (2.92 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม29,433 (589 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเกาหลีใต้ พัก จ็อง-จิน
(5 ประตู)
2020
2024

ทั้งหมด 16 ทีมที่เข้ารอบจะเข้าสู่การแข่งขันในรอบต่อไป รวมถึงทีมชาติอุซเบกิสถาน ที่เข้ารอบอัตโนมัติจากการเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันรอบสุดท้าย

การจับสลาก แก้

ใน 47 ประเทศสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันครั้งนี้ทั้งหมด 42 ทีม โดยการแข่งขันรอบสุดท้ายจะจัดขึ้นที่ประเทศอุซเบกิสถาน และทีมชาติอุซเบกิสถานจะได้รับสิทธิ์เข้าไปเล่นในรอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ

การจับสลากจัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เวลา 12:00 น. ตามเวลาท้องถิ่น ณ ทาชเคนต์ ประเทศอุซเบกิสถาน[2] ซึ่งทั้ง 42 ทีมจะแบ่งเป็น 9 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม และ 2 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทีม โดยการจับสลากครั้งนี้จะแบ่งเป็น 2 โซน

  • โซนตะวันตก: 24 ทีมจาก เอเชียตะวันตก, เอเชียกลาง และเอเชียใต้ จะแบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม และ 1 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทีม (กลุ่มเอ–กลุ่มเอฟ)
  • โซนตะวันออก: 20 ทีมจาก อาเซียน และเอเชียตะวันออก จะแบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม และ 1 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทีม (กลุ่มจี–กลุ่มเค)

โดยทีมจะถูกแบ่งลงในโถตามผลงานในการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 รอบสุดท้าย และรอบคัดเลือก (โดยผลงานโดยรวมจะแสดงในวงเล็บ; NR หมายความว่าไม่มีการจัดอันดับ) โดยมี 11 ทีมได้รับการคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพในการแข่งขันของกลุ่มนั้น

เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม ทีมชาติเกาหลีเหนือถอนตัวออกจากการแข่งขันเนื่องจากความกังวลด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับการระบาดทั่วของโควิด-19 สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียได้ทำการจับสลากเมื่อวันที่ 11 สิงหาคมเพื่อย้ายหนึ่งทีมจากกลุ่มจี ถึงกลุ่มเจ (ไม่รวมเจ้าภาพ และทีมจากโถ 1) โดยทีมชาติฮ่องกง ถูกจับสลากให้ย้ายจากกลุ่มไอ มาอยู่ในกลุ่มเค แทนที่ทีมชาติเกาหลีเหนือที่ถอนตัวออกไป และวันที่ 11 ตุลาคม ทีมชาติจีนถอนตัวจากการแข่งขันด้วยเหตุผลเดียวกัน ทำให้กลุ่มจีเหลือเพียง 2 ทีม[3]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
โซนตะวันตก
โซนตะวันออก
หมายเหตุ
  • ทีมที่แสดง ตัวหนา ได้เข้ารอบสู่รอบสุดท้ายแล้ว
  • (H): เจ้าภาพรอบแบ่งกลุ่ม
  • (N): ไม่ได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ไม่สามารถเข้าไปเล่นในการแข่งขันโอลิมปิกได้
  • (Q): เจ้าภาพรอบสุดท้าย ซึ่งจะเข้ารอบโดยอัตโนมัติ
  • (W): ถอนตัวจากการจับสลาก
  • (X): ถูกระงับ
ไม่ได้เข้าแข่งขัน
โซนตะวันตก
โซนตะวันออก

ผู้เล่นที่สามารถลงแข่งขัน แก้

ผู้เล่นที่เกิดหลังจากวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.​ 2542 สามารถลงเล่นในการแข่งขันนี้ได้[4]

รูปแบบ แก้

ในแต่ละกลุ่ม จะแข่งขันแบบพบกันหมดในสนามกลางของประเทศเจ้าภาพ โดย 11 ทีมชนะเลิศ และ 4 ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุด จะเข้าสู่การแข่งขันรอบสุดท้าย ในกลุ่มจี หลังจากการถอนตัวของทีมชาติบรูไน และทีมชาติจีน กลุ่มจีเหลือเพียง 2 ทีม (ทีมชาติออสเตรเลีย และทีมชาติอินโดนีเซีย) จะแข่งขันกัน 2 นัด ทีมชนะจะผ่านเข้าสู่การแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนทีมแพ้จะถูกคัดออก[5]

กฎการแข่งขัน แก้

ทีมจะถูกจัดอันดับโดยใช้คะแนน (ชนะ 3 คะแนน, เสมอ 1 คะแนน และแพ้ 0 คะแนน) หากมีคะแนนเท่ากัน จะใช้กฎดังนี้ในการตัดสินอันดับ ตามกฎระเบียบข้อบังคับหัวข้อ 9.3

  1. คะแนนในการแข่งขันเมื่อพบกัน (เฮดทูเฮด);
  2. ผลต่างประตูได้เสียในการแข่งขันเมื่อพบกัน (เฮดทูเฮด);
  3. ประตูที่ยิงได้ในการแข่งขันเมื่อพบกัน (เฮดทูเฮด);
  4. หากมีมากกว่า 2 ทีมเสมอกันและใช้กฎตามด้านบนทั้งหมดแล้วยังเสมอกันจะใช้กฎระเบียบย่อยดังต่อไปนี้;
  5. ผลต่างประตูได้เสียในการแข่งขันของทุกกลุ่ม;
  6. ประตูที่ยิงได้ในการแข่งขันของทุกกลุ่ม;
  7. การยิงลูกโทษที่จุดโทษ หากทั้งสองทีมที่เสมอกันพบกันในนัดสุดท้าย;
  8. คะแนนความประพฤติ (ใบเหลือง = 1 คะแนน, ใบแดงจากการได้รับใบเหลืองที่สอง = 3 คะแนน, ใบแดง = 3 คะแนน, ใบเหลืองและได้รับใบแดง = 4 คะแนน);
  9. จับสลาก

กลุ่ม แก้

การแข่งขันจะมีขึ้นระหว่างวันที่ 23 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564[1]

กำหนดการ
นัดที่ กลุ่มเอ–กลุ่มอี, กลุ่มเอช, กลุ่มเจ กลุ่มเอฟ, กลุ่มไอ, กลุ่มเค กลุ่มจี
วันที่ การแข่งขัน วันที่ การแข่งขัน วันที่ การแข่งขัน
นัดที่ 1 27 ตุลาคม 2564 1 v 4, 2 v 3 27 ตุลาคม 2564 3 v 1 27 ตุลาคม 2564 2 v 1
นัดที่ 2 29 ตุลาคม 2564 4 v 2, 3 v 1 29 – 30 ตุลาคม 2564 2 v 3 30 ตุลาคม 2564 1 v 2
นัดที่ 3 31 ตุลาคม 2564 1 v 2, 3 v 4 31 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน 2564 1 v 2

กลุ่มเอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   กาตาร์ (H) 3 2 1 0 9 1 +8 7 รอบสุดท้าย
2   ซีเรีย 3 1 2 0 6 1 +5 5
3   เยเมน 3 1 1 1 3 3 0 4
4   ศรีลังกา 3 0 0 3 0 13 −13 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
กาตาร์  3–0  เยเมน
อะลี   14'42'
มุฮัมมัด   63'
รายงาน
ซีเรีย  5–0  ศรีลังกา
มัลตา   1'
บาชมานี   25'85'
อัล-ฮัลลัค   42'
บาซิต   70' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน

เยเมน  0-0  ซีเรีย
รายงาน
ผู้ชม: 214 คน
ผู้ตัดสิน: Ismaeel Habib (บาห์เรน)

ซีเรีย  1–1  กาตาร์
รายงาน
ผู้ชม: 460 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmad Yacoub Ibrahim (จอร์แดน)

กลุ่มบี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิหร่าน 3 3 0 0 9 2 +7 9 รอบสุดท้าย
2   ทาจิกิสถาน (H) 3 2 0 1 9 3 +6 6
3   เลบานอน 3 1 0 2 4 3 +1 3
4   เนปาล 3 0 0 3 0 14 −14 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
อิหร่าน  4–0  เนปาล
รายงาน
ทาจิกิสถาน  1–0  เลบานอน
รายงาน

เลบานอน  0–2  อิหร่าน
รายงาน
ผู้ชม: 450 คน
ผู้ตัดสิน: Tejas Nagvenkar (อินเดีย)
เนปาล  0–6  ทาจิกิสถาน
รายงาน
ผู้ชม: 4,500 คน
ผู้ตัดสิน: Ammar Ashkanani (คูเวต)

เลบานอน  4–0  เนปาล
รายงาน
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Adam Fazeel (มัลดีฟส์)
อิหร่าน  3–2  ทาจิกิสถาน
รายงาน
ผู้ชม: 7,200 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Woo-sung (เกาหลีใต้)

กลุ่มซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิรัก 2 2 0 0 7 0 +7 6 รอบสุดท้าย
2   บาห์เรน (H) 2 1 0 1 3 3 0 3
3   มัลดีฟส์ 2 0 0 2 0 7 −7 0
4   อัฟกานิสถาน[a] 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนตัวจากการแข่งขัน
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1.   อัฟกานิสถานถอนตัวจากการแข่งขันเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เนื่องจากไม่สามารถไปถึงบาห์เรนได้ก่อนเกมนัดแรก เนื่องจากไม่มีเที่ยวบินตรงเวลาจากคาบูลตามคำแถลงอย่างเป็นทางการ.[6]
อิรัก  4–0  มัลดีฟส์
รายงาน
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Salman Ahmad Falahi (กาตาร์)
มัลดีฟส์  0–3  บาห์เรน
รายงาน
ผู้ชม: 125 คน
ผู้ตัดสิน: Shukri Al-Hunfush (ซาอุดีอาระเบีย)

อิรัก  3–0  บาห์เรน
รายงาน
ผู้ชม: 2,004 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Ali (จอร์แดน)

กลุ่มดี แก้

เนื่องจากทีมชาติอุซเบกิสถานผ่านเข้ารอบในการแข่งขันรอบสุดท้าย ในฐานะเจ้าภาพในการแข่งขันรอบสุดท้าย การแข่งขันของพวกเขาจะไม่ถูกนำมาพิจารณาในการคำนวณอันดับกลุ่ม

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   คูเวต 2 2 0 0 3 1 +2 6 รอบสุดท้าย
2   ซาอุดีอาระเบีย 2 1 0 1 4 2 +2 3
3   บังกลาเทศ 2 0 0 2 0 4 −4 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
บังกลาเทศ  0-1  คูเวต


คูเวต  1–5  อุซเบกิสถาน

กลุ่มอี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (H) 3 2 0 1 4 2 +2 6 รอบสุดท้าย
2   อินเดีย 3 1 1 1 2 2 0 4
3   คีร์กีซสถาน 3 1 1 1 2 2 0 4
4   โอมาน 3 1 0 2 2 4 −2 3
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  1–2  คีร์กีซสถาน
Al-Balochi   45+2' รายงาน Japarov   77'
Sharshenbekov   87'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: มงคลชัย เพชรศรี (ไทย)
โอมาน  1–2  อินเดีย
Al-Musalmi   89' รายงาน Ali   7' (ลูกโทษ)
V. Singh   38'


กลุ่มเอฟ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   จอร์แดน (H) 2 1 1 0 2 1 +1 4 รอบสุดท้าย
2   เติร์กเมนิสถาน 2 1 0 1 3 2 +1 3
3   ปาเลสไตน์ 2 0 1 1 2 4 −2 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.


กลุ่มจี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ออสเตรเลีย 2 2 0 0 4 2 +2 6 รอบสุดท้าย
2   อินโดนีเซีย 2 0 0 2 2 4 −2 0
3   จีน[a] 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนตัวจากการแข่งขัน
4   บรูไน[b] 0 0 0 0 0 0 0 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
หมายเหตุ :
  1. ทีมชาติจีนถอนตัวจากการแข่งขันในวันที่ 11 ตุลาคม เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19[8]
  2. ทีมชาติบรูไนถอนตัวจากการแข่งขันเมื่อวันที่ 3 กันยายน[9]

กลุ่มเอช แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เกาหลีใต้ 3 3 0 0 14 1 +13 9 รอบสุดท้าย
2   สิงคโปร์ (H) 3 1 1 1 4 7 −3 4
3   ติมอร์-เลสเต 3 1 1 1 3 8 −5 4
4   ฟิลิปปินส์ 3 0 0 3 0 5 −5 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.


กลุ่มไอ แก้

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่จีนไทเป แต่เอเอฟซีกำหนดจะเปลี่ยนเจ้าบ้าน[10] เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2564 เอเอฟซียืนยันว่าการแข่งขันกลุ่มไอจัดขึ้นที่ประเทศคีร์กีซสถาน
  • เวลาในการแข่งขัน UTC+6
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เวียดนาม 2 2 0 0 2 0 +2 6 รอบสุดท้าย
2   พม่า 2 1 0 1 1 1 0 3
3   จีนไทเป 2 0 0 2 0 2 −2 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก


กลุ่มเจ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   มาเลเซีย 3 2 1 0 2 0 +2 7 รอบสุดท้าย
2   ไทย 3 1 2 0 4 1 +3 5
3   ลาว 3 1 0 2 3 6 −3 3
4   มองโกเลีย (H) 3 0 1 2 3 5 −2 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.


มาเลเซีย  1–0  ลาว
Azfar   68' รายงาน

มองโกเลีย  0–1  มาเลเซีย
รายงาน Azfar   40'

ลาว  3–2  มองโกเลีย
Bounkong   8' (ลูกโทษ)71'
  46' (เข้าประตูตัวเอง)
  21' (เข้าประตูตัวเอง)
Oyuntuya   23'

กลุ่มเค แก้

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่น
  • ทีมชาติเกาหลีเหนือถอนตัวจากการแข่งขันเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม เอเอฟซีได้ทำการจับสลากเมื่อวันที่ 11 สิงหาคมเพื่อย้ายหนึ่งทีมจากกลุ่มจี ถึงกลุ่มเจ (ไม่รวมเจ้าภาพ และทีมจากโถ 1) โดยทีมชาติฮ่องกง ถูกจับสลากให้ย้ายจากกลุ่มไอ มาอยู่ในกลุ่มเค แทนที่ทีมชาติเกาหลีเหนือที่ถอนตัวออกไป[11]
  • เวลาในการแข่งขัน UTC+9
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น (H) 2 2 0 0 8 0 +8 6 รอบสุดท้าย
2   กัมพูชา 2 1 0 1 4 6 −2 3
3   ฮ่องกง 2 0 0 2 2 8 −6 0
4   เกาหลีเหนือ 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนตัวจากการแข่งขัน[11]
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
กัมพูชา  4–2  ฮ่องกง
รายงาน
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: พาแยม เฮย์ดารี (อิหร่าน)

ญี่ปุ่น  4-0  กัมพูชา
รายงาน
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: ชอน อีแวนส์ (ออสเตรเลีย)

ฮ่องกง  0–4  ญี่ปุ่น
รายงาน
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: Bold Khash-Erdene (มองโกเลีย)

ตารางคะแนนทีมอันดับที่สอง แก้

เนื่องจากกลุ่มที่มีจำนวนทีมต่างกัน ผลการแข่งขันกับทีมอันดับ 4 ในกลุ่มที่มี 4 ทีม จะไม่ได้รับการพิจารณาสำหรับการจัดอันดับนี้ (ยกเว้นกลุ่มดี ซึ่งจะไม่พิจารณาผลการแข่งขันกับเจ้าภาพ ประเทศอุซเบกิสถาน)

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เจ   ไทย 2 1 1 0 3 0 +3 4 รอบสุดท้าย
2 ดี   ซาอุดีอาระเบีย 2 1 0 1 4 2 +2 3
3 เอฟ   เติร์กเมนิสถาน 2 1 0 1 3 2 +1 3
4 บี   ทาจิกิสถาน 2 1 0 1 3 3 0 3[a]
5 ซี   บาห์เรน 2 1 0 1 3 3 0 3[a]
6 ไอ   พม่า 2 1 0 1 1 1 0 3
7 เค   กัมพูชา 2 1 0 1 4 6 −2 3
8 เอ   ซีเรีย 2 0 2 0 1 1 0 2
9 อี   อินเดีย 2 0 1 1 0 1 −1 1
10 เอช   สิงคโปร์ 2 0 1 1 3 7 −4 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูได้; 4) คะแนนทางวินัย; 5) จับสลาก
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 คะแนนทางวินัย: ทาจิกิสถาน –1, บาห์เรน –2.

ผู้ทำประตู แก้

มีการทำประตู 92 ประตู จากการแข่งขัน 31 นัด เฉลี่ย 2.97 ประตูต่อนัด


การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

แหล่งที่มา : AFC

ทีมที่เข้ารอบ แก้

ทั้ง 16 ทีมต่อไปนี้ เป็นทีมที่เข้ารอบเพื่อทำการแข่งขันในรอบสุดท้าย

ทีม เข้ารอบในฐานะ เข้ารอบในวันที่ การแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปีที่ผ่านมา
  อุซเบกิสถาน เจ้าภาพ 18 มีนาคม 2564 4 (2013, 2016, 2018, 2020)
  กาตาร์ กลุ่มเอ ทีมชนะเลิศ 31 ตุลาคม 2564 3 (2016, 2018, 2020)
  อิหร่าน กลุ่มบี ทีมชนะเลิศ 31 ตุลาคม 2564 3 (2013, 2016, 2020)
  อิรัก กลุ่มซี ทีมชนะเลิศ 31 ตุลาคม 2564 4 (2013, 2016, 2018, 2020)
  คูเวต กลุ่มดี ทีมชนะเลิศ 30 ตุลาคม 2564 1 (2013)
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กลุ่มอี ทีมชนะเลิศ 30 ตุลาคม 2564 3 (2013, 2016, 2020)
  จอร์แดน กลุ่มเอฟ ทีมชนะเลิศ 31 ตุลาคม 2564 4 (2013, 2016, 2018, 2020)
  ออสเตรเลีย กลุ่มจี ทีมชนะเลิศ 29 ตุลาคม 2564 4 (2013, 2016, 2018, 2020)
  เกาหลีใต้ กลุ่มเอช ทีมชนะเลิศ 31 ตุลาคม 2564 4 (2013, 2016, 2018, 2020)
  เวียดนาม กลุ่มไอ ทีมชนะเลิศ 2 พฤศจิกายน 2564 3 (2016, 2018, 2020)
  มาเลเซีย กลุ่มเจ ทีมชนะเลิศ 31 ตุลาคม 2564 1 (2018)
  ญี่ปุ่น กลุ่มเค ทีมชนะเลิศ 28 ตุลาคม 2564 4 (2013, 2016, 2018, 2020)
  ไทย อันดับที่ 1 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 31 ตุลาคม 2564 3 (2016, 2018, 2020)
  ซาอุดีอาระเบีย อันดับที่ 2 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 2 พฤศจิกายน 2564 4 (2013, 2016, 2018, 2020)
  เติร์กเมนิสถาน อันดับที่ 3 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 31 ตุลาคม 2564 0 (ครั้งแรก)
  ทาจิกิสถาน อันดับที่ 4 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 2 พฤศจิกายน 2564 0 (ครั้งแรก)
1 ตัวหนา หมายถึง แชมป์ในปีนั้น ตัวเอียง หมายถึง เจ้าภาพในปีนั้น

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "AFC U23 Asian Cup Uzbekistan 2022 Qualifiers - Match Schedule". AFC. 9 July 2021.
  2. "AFC U23 Asian Cup Uzbekistan 2022 challengers to identify opponents". AFC. 8 July 2021.
  3. "China quits AFC U23 Championship". www.news.cn. สืบค้นเมื่อ 2021-10-14.
  4. "AFC U23 Asian Cup 2022 competition regulations". AFC.
  5. Yến Hoàng (16 October 2021). "U23 Trung Quốc bỏ giải, U23 Việt Nam được hưởng lợi". Voice of Vietnam (ภาษาเวียดนาม).{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  6. Lalzoy, Najibullah (25 October 2021). "Afghanistan's chaos, football U23 team missed Asia Cup matches". Khaama Press News Agency. สืบค้นเมื่อ 25 October 2021.
  7. "কুয়েত নয়, উজবেকিস্তানে খেলবে বাংলাদেশ অনূর্ধ্ব-২৩ দল". Daily Sports BD (ภาษาเบงกอล). 19 October 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-26. สืบค้นเมื่อ 19 October 2021.
  8. "China quits AFC U23 Championship". Xinhua News Agency. 11 October 2021. สืบค้นเมื่อ 20 October 2021.
  9. "Brunei Darussalam Fix Mundur, Timnas Indonesia U-23 Tinggal Bersaing dengan Australia dan China di Kualifikasi Piala AFC U-23 2022" (ภาษาอินโดนีเซีย). Bola.com. 5 October 2021. สืบค้นเมื่อ 20 October 2021.
  10. "Taiwan loses right to host Asian Cup qualifiers due to COVID-19 rules". Focus Taiwan. Central News Agency. 8 September 2021. สืบค้นเมื่อ 14 September 2021.
  11. 11.0 11.1 "Latest update on the AFC U23 Asian Cup Uzbekistan 2022™ - Qualifiers". AFC. สืบค้นเมื่อ 29 July 2021.