กีฬามหาวิทยาลัยโลก (อังกฤษ : World University Games เคยใช้ชื่อ Universiade ตั้งแต่ ค.ศ. 1959-2020) เป็นชื่อการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยจากนานาชาติทั่วโลก อยู่ในการกำกับดูแลของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยนานาชาติ (Federation of International University Sports - FISU) โดยชื่อเดิม Universiade เป็นการนำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2 คำ คือ university (มหาวิทยาลัย) และ olympiad (โอลิมปิก) มาสนธิ กัน
กีฬามหาวิทยาลัยโลก สถานะ ดำเนินการ ประเภท การแข่งขันกีฬา ความถี่ สองปี ที่ตั้ง หลากหลาย ประเดิม ค.ศ. 1959 (1959 ) (ฤดูร้อน)ค.ศ. 1960 (1960 ) (ฤดูหนาว)จัดโดย สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยนานาชาติ (FISU)เว็บไซต์ fisu.net
การจัดการแข่งขันจะจัดขึ้นทุกสองปี โดยมีกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ซึ่งทั้งสองมหกรรมกีฬานี้จะจัดแข่งขันในปีเดียวกัน แต่ต่างเวลาและสถานที่ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1959 โดยจัดขึ้นที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี
การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน
ครั้งที่
ปี
ประเทศเจ้าภาพ
เมืองเจ้าภาพ
เปิดโดย
วันที่
ชาติเข้าร่วม
นักกีฬา
ชนิดกีฬา
เหรียญทอง
เจ้าเหรียญทอง
1
1959
อิตาลี
ตูริน
โจวันนี กรอนกี
26 สิงหาคม – 7 กันยายน
43
985
7
60
อิตาลี
2
1961
บัลแกเรีย
โซเฟีย
Dimitar Ganev
25 สิงหาคม – 3 กันยายน
32
1,270
9
68
สหภาพโซเวียต
3
1963
บราซิล
ปอร์ตูอาเลเกร
Paulo de Tarso Santos
30 สิงหาคม – 8 กันยายน
27
713
9
70
ฮังการี
4
1965
ฮังการี
บูดาเปสต์
István Dobi
20–30 สิงหาคม
32
1,729
9
74
ฮังการี
5
1967
ญี่ปุ่น
โตเกียว
ฮิโรฮิโตะ
27 สิงหาคม – 4 กันยายน
37
958
10
83
สหรัฐ
6
1970
อิตาลี
ตูริน [ a]
จูเซปเป ซารากัต
26 สิงหาคม – 6 กันยายน
58
2,084
9
82
สหภาพโซเวียต
7
1973
สหภาพโซเวียต
มอสโก
เลโอนิด เบรจเนฟ
15–25 สิงหาคม
61
2,773
10
111
สหภาพโซเวียต
8
1975
อิตาลี
โรม [ b]
โจวันนี เลโอเน
18–21 สิงหาคม
38
468
1
38
สหภาพโซเวียต
9
1977
บัลแกเรีย
โซเฟีย
ตอดอร์ ซีฟกอฟ
17–28 สิงหาคม
78
2,939
10
101
สหภาพโซเวียต
10
1979
เม็กซิโก
เม็กซิโกซิตี
José López Portillo
2–13 กันยายน
94
3,074
10
97
สหภาพโซเวียต
11
1981
โรมาเนีย
บูคาเรสต์
นีกอลาเอ ชาวูเชสกู
19–30 กรกฎาคม
82
2,912
10
133
สหภาพโซเวียต
12
1983
แคนาดา
เอดมันตัน
เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์
1–12 กรกฎาคม
73
2,382
10
118
สหภาพโซเวียต
13
1985
ญี่ปุ่น
โกเบ
สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
24 สิงหาคม – 4 กันยายน
105
2,383
11
123
สหภาพโซเวียต
14
1987
ยูโกสลาเวีย
ซาเกร็บ
Lazar Mojsov
8–19 กรกฎาคม
121
3,398
12
139
สหรัฐ
15
1989
เยอรมนีตะวันตก
ดืสบวร์ค [ c]
เฮ็ลมูท โคล
22–30 สิงหาคม
79
1,785
4
66
สหภาพโซเวียต
16
1991
สหราชอาณาจักร
เชฟฟีลด์
เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี
14–25 กรกฎาคม
101
3,346
11
119
สหรัฐ
17
1993
สหรัฐ
บัฟฟาโล
Primo Nebiolo
8–18 กรกฎาคม
117
3,547
12
135
สหรัฐ
18
1995
ญี่ปุ่น
ฟูกูโอกะ
สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ
23 สิงหาคม – 3 กันยายน
162
3,949
12
144
สหรัฐ
19
1997
อิตาลี
ซิซิลี
Oscar Luigi Scalfaro
19–31 สิงหาคม
124
3,496
10
129
สหรัฐ
20
1999
สเปน
ปัลมาเดมายอร์กา
Infanta Elena, Duchess of Lugo
3–13 กรกฎาคม
125
4,076
12
142
สหรัฐ
21
2001
จีน
ปักกิ่ง
เจียง เจ๋อหมิน
22 สิงหาคม – 1 กันยายน
165
4,484
12
170
จีน
22
2003
เกาหลีใต้
แทกู
โน มู-ฮย็อน
21–31 สิงหาคม
173
4,460
13
189
จีน
23
2005
ตุรกี
อิซมีร์
Ahmet Necdet Sezer
11–22 สิงหาคม
131
5,346
14
195
รัสเซีย
24
2007
ไทย
กรุงเทพมหานคร
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร
8–18 สิงหาคม
151
6,093
15
236
จีน
25
2009
เซอร์เบีย
เบลเกรด
Mirko Cvetković
1–12 กรกฎาคม
122
5,566
15
203
รัสเซีย
26
2011
จีน
เชินเจิ้น
หู จิ่นเทา
12–23 สิงหาคม
151
7,156
24
302
จีน
27
2013
รัสเซีย
คาซาน
วลาดีมีร์ ปูติน
6–17 กรกฎาคม
159
7,966
27
351
รัสเซีย
28
2015
เกาหลีใต้
ควังจู
พัก กึน-ฮเย
3–14 กรกฎาคม
140
7,432
21
274
เกาหลีใต้
29
2017
จีนไทเป
ไทเป
ไช่ อิงเหวิน
19–30 สิงหาคม
134
7,377
22
272
ญี่ปุ่น
30
2019
อิตาลี
เนเปิลส์ [ d]
แซร์โจ มัตตาเรลลา
3–14 กรกฎาคม
109
5,899
18
220
ญี่ปุ่น
31
2021
จีน
เฉิงตู
สี จิ้นผิง
28 กรกฎาคม – 8 สิงหาคม 2023[ e]
116
5,056
18
268
จีน
–
2023
รัสเซีย
เยคาเตรินบุร์ก
ถูกยกเลิกเนื่องจากการรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย
32
2025
เยอรมนี
เขตมหานครไรน์-รูห์ร
16–27 กรกฎาคม
18
234
33
2027
เกาหลีใต้
จังหวัดชุงช็อง
1-12 สิงหาคม
18
242
34
2029
สหรัฐ
รัฐนอร์ทแคโรไลนา [ 1]
11-22 กรกฎาคม
18
222
การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว
ครั้งที่
ปี
ประเทศเจ้าภาพ
เมืองเจ้าภาพ
เปิดโดย
วันที่
ชาติเข้าร่วม
นักกีฬา
ชนิดกีฬา
เหรียญทอง
เจ้าเหรียญทอง
1
1960
ฝรั่งเศส
ชามอนี
ชาร์ล เดอ โกล
28 กุมภาพันธ์ – 6 มีนาคม
16
151
5
13
ฝรั่งเศส
2
1962
สวิตเซอร์แลนด์
วีลาร์
Paul Chaudet
6–12 มีนาคม
22
273
6
12
เยอรมนีตะวันตก
3
1964
เชโกสโลวาเกีย
ชปินดเลรูฟมลีน
Antonín Novotný
11–17 กุมภาพันธ์
21
285
5
15
เยอรมนีตะวันตก
4
1966
อิตาลี
เซสตรีเอเร
จูเซปเป ซารากัต
5–13 กุมภาพันธ์
29
434
6
19
สหภาพโซเวียต
5
1968
ออสเตรีย
อินส์บรุค
ฟรันทซ์ โยนัส
21–28 มกราคม
26
424
7
23
สหภาพโซเวียต
6
1970
ฟินแลนด์
โรวาเนียมิ
Urho Kekkonen
3–9 เมษายน
25
421
7
24
สหภาพโซเวียต
7
1972
สหรัฐ
เลกแพลซิด
ริชาร์ด นิกสัน
26 กุมภาพันธ์ – 5 มีนาคม
23
351
7
25
สหภาพโซเวียต
8
1975
อิตาลี
ลิวิโน
โจวันนี เลโอเน
6–13 เมษายน
15
143
2
13
สหภาพโซเวียต
9
1978
เชโกสโลวาเกีย
ชปินดเลรูฟมลีน
กุสตาว ฮูซาก
5–12 กุมภาพันธ์
21
260
4
16
สหภาพโซเวียต
10
1981
สเปน
ฆากา
สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1
25 กุมภาพันธ์ – 4 มีนาคม
28
394
5
19
สหภาพโซเวียต
11
1983
บัลแกเรีย
โซเฟีย
ตอดอร์ ซีฟกอฟ
17–27 กุมภาพันธ์
31
535
7
21
สหภาพโซเวียต
12
1985
อิตาลี
เบลลูโน
ซันโดร แปร์ตีนี
16–24 กุมภาพันธ์
29
538
7
30
สหภาพโซเวียต
13
1987
เชโกสโลวาเกีย
ชเติร์บสแกเปลโซ
กุสตาว ฮูซาก
21–28 กุมภาพันธ์
28
596
6
25
เชโกสโลวาเกีย
14
1989
บัลแกเรีย
โซเฟีย
ตอดอร์ ซีฟกอฟ
2–12 มีนาคม
32
681
8
40
สหภาพโซเวียต
15
1991
ญี่ปุ่น
ซัปโปะโระ
สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ
2–10 มีนาคม
34
668
8
45
ญี่ปุ่น
16
1993
โปแลนด์
ซากอปาแน
แลค วาแวนซา
6–14 กุมภาพันธ์
41
668
8
36
ญี่ปุ่น
17
1995
สเปน
ฆากา
สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1
18–28 กุมภาพันธ์
41
765
8
35
เกาหลีใต้
18
1997
เกาหลีใต้
มูจู -ช็อนจู
คิม ย็อง-ซัม
24 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์
48
877
9
51
ญี่ปุ่น
19
1999
สโลวาเกีย
ปอปราด -วีย์โซคทาทรี
Rudolf Schuster
22–30 มกราคม
40
929
9
52
รัสเซีย
20
2001
โปแลนด์
ซากอปาแน
อาแล็กซันแดร์ กฟัชแญฟสกี
7–17 กุมภาพันธ์
41
1,007
9
52
รัสเซีย
21
2003
อิตาลี
ตาร์วีซีโอ
Renzo Tondo
16–26 มกราคม
46
1,266
10
59
รัสเซีย
22
2005
ออสเตรีย
อินส์บรุค -เซเฟลด์
ไฮนทซ์ ฟิชเชอร์
12–22 มกราคม
50
1,449
12
68
ออสเตรีย
23
2007
อิตาลี
ตูริน
George Killian
17–27 มกราคม
48
1,668
11
72
เกาหลีใต้
24
2009
จีน
ฮาร์บิน
Liu Yandong
18–28 กุมภาพันธ์
44
1,545
12
81
จีน
25
2011
ตุรกี
แอร์ซูรุม
อับดุลลาฮ์ กึล
27 มกราคม – 6 กุมภาพันธ์
52
1,593
11
66
รัสเซีย
26
2013
อิตาลี
เตรนตีโน
Ugo Rossi
11–21 ธันวาคม [ a]
50
1,698
12
79
รัสเซีย
27
2015
สโลวาเกีย
สตรึบสกี้พลีโซ –ออสรึบลี [ b]
Andrej Kiska
24 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์
42
1,546
11
68
รัสเซีย
สเปน
กรานาดา
สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6
4–14 กุมภาพันธ์
28
2017
คาซัคสถาน
อัลมาเตอ
นูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ
29 มกราคม – 8 กุมภาพันธ์
57
1,620
12
85
รัสเซีย
29
2019
รัสเซีย
ครัสโนยาสค์
วลาดีมีร์ ปูติน
2–12 มีนาคม
68
1,692
11
76
รัสเซีย
30
2021
สวิตเซอร์แลนด์
ลูเซิร์น
ถูกยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19
31
2023
สหรัฐ
เลคแพลซิด [ 2]
Kathy Hochul
12–22 มกราคม
47
1,417
12
85
ญี่ปุ่น
32
2025
อิตาลี
ตูริน
Andrea Abodi
13–23 มกราคม
55
2,000+
11
96
33
2027
TBA
34
2029
TBA
↑ เดิมกำหนดจัดขึ้นที่ มาริบอร์ สโลวีเนีย
↑ เนื่องจากปัญหาที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในเมืองกรานาดา สกีนอร์ดิกจึงถูกย้ายไปที่สโลวาเกีย