เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

การแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี (AFC U-23 Championship)[1] เป็นการแข่งขันฟุตบอลสำหรับผู้เล่นอายุไม่เกิน 23 ปี จัดการโดยเอเอฟซี เริ่มในปี พ.ศ. 2556 โดย 3 ทีมที่ดีที่สุดเข้าไปร่วมแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน

เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
ก่อตั้ง2011
ภูมิภาคเอเชีย (AFC)
จำนวนทีม16
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน ญี่ปุ่น
(สมัยที่ 2)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ญี่ปุ่น
(2 สมัย)
เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024

ผลการแข่งขัน

แก้
ปี (ค.ศ.) เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผล รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผล อันดับ 4
2013
รายละเอียด
  โอมาน  
อิรัก
1–0  
ซาอุดีอาระเบีย
 
จอร์แดน
0-0
(3-2)
ดวลลูกโทษ
 
เกาหลีใต้
2016
รายละเอียด
  กาตาร์  
ญี่ปุ่น
3–2  
เกาหลีใต้
 
อิรัก
2–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
 
กาตาร์
2018
รายละเอียด
  จีน  
อุซเบกิสถาน
2–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
 
เวียดนาม
 
กาตาร์
1–0  
เกาหลีใต้
2020
รายละเอียด
  ไทย  
เกาหลีใต้
1–0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
 
ซาอุดีอาระเบีย
 
ออสเตรเลีย
1–0  
อุซเบกิสถาน
2022
รายละเอียด
  อุซเบกิสถาน  
ซาอุดีอาระเบีย
2–0  
อุซเบกิสถาน
 
ญี่ปุ่น
3–0  
ออสเตรเลีย
2024
รายละเอียด
  กาตาร์  
ญี่ปุ่น
1–0  
อุซเบกิสถาน
 
อิรัก
2–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
 
อินโดนีเซีย

ความสำเร็จในฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี

แก้
ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่
  ญี่ปุ่น 2 (2016, 2024) 1 (2022)
  อุซเบกิสถาน 1 (2018) 2 (2022, 2024) 1 (2020)
  ซาอุดีอาระเบีย 1 (2022) 2 (2013, 2020)
  เกาหลีใต้ 1 (2020) 1 (2016) 2 (2013, 2018)
  อิรัก 1 (2013) 2 (2016, 2024)
  เวียดนาม 1 (2018)
  กาตาร์ 1 (2018) 1 (2016)
  ออสเตรเลีย 1 (2020) 1 (2022)
  จอร์แดน 1 (2013)
  อินโดนีเซีย 1 (2024)

ประเทศที่เข้าร่วม

แก้
ทีม  
2013
 
2016
 
2018
 
2020
 
2022
 
2024
 
2026
ทั้งหมด
  ออสเตรเลีย QF GS GS 3rd 4th GS 6
  บาห์เรน GS 1
  จีน GS GS GS GS × GS 5
  อินโดนีเซีย 4th 1
  อิหร่าน GS QF GS GS 4
  อิรัก 1st 3rd QF GS QF 3rd 6
  ญี่ปุ่น QF 1st QF GS 3rd 1st 6
  จอร์แดน 3rd QF GS QF GS GS 6
  คูเวต GS × GS GS 3
  มาเลเซีย QF GS GS 3
  พม่า GS 1
  เกาหลีเหนือ GS QF GS GS × × 4
  โอมาน GS GS 2
  ปาเลสไตน์ QF 1
  กาตาร์ 4th 3rd GS GS QF 5
  ซาอุดีอาระเบีย 2nd GS GS 2nd 1st QF Q 7
  เกาหลีใต้ 4th 2nd 4th 1st QF QF 6
  ซีเรีย QF GS GS QF 4
  ทาจิกิสถาน GS GS 2
  ไทย GS GS QF GS GS 5
  เติร์กเมนิสถาน QF 1
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ QF QF QF GS GS 5
  อุซเบกิสถาน GS GS 1st 4th 2nd 2nd 6
  เวียดนาม GS 2nd GS QF QF 5
  เยเมน GS GS × 2
รวม 16 16 16 16 16 16 16

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Fifteen sides storm to U-22 finals". Asian Football Confederation. 16 July 2012. สืบค้นเมื่อ 20 September 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้