ชาติยุโรปในฟุตบอลโลก

(เปลี่ยนทางจาก European nations at the FIFA World Cup)

ฟุตบอลทีมชาติของทวีปยุโรปในฟุตบอลโลก เป็นตัวแทนของแต่ละประเทศจากโซนยุโรปในการเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกและเป็นสมาชิกของสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป กีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในเกือบทุกประเทศในยุโรป และยูฟ่าเป็นหนึ่งใน 6 สมาพันธ์ของฟีฟ่าที่กำกับดูแลฟุตบอลโลก ยูฟ่าประกอบด้วยสมาชิกสมาคม 55 ประเทศ บางประเทศมีพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย ปัจจุบันมีสมาชิกของยูฟ่าทั้งหมด 33 ประเทศได้ลงแข่งขันในฟุตบอลโลกชายรอบสุดท้าย ขณะที่เยอรมนีตะวันออกได้ผ่านเข้ารอบหนึ่งครั้ง

ชาติยุโรปคว้าแชมป์ฟุตบอลโลกรวมทั้งหมด 12 ครั้ง ซึ่งมากที่สุดในโลก

ภาพรวม แก้

1930
 
(13)
1934
 
(16)
1938
 
(15)
1950
 
(13)
1954
 
(16)
1958
 
(16)
1962
 
(16)
1966
 
(16)
1970
 
(16)
1974
 
(16)
1978
 
(16)
1982
 
(24)
1986
 
(24)
1990
 
(24)
1994
 
(24)
1998
 
(32)
2002
 
 
(32)
2006
 
(32)
2010
 
(32)
2014
 
(32)
2018
 
(32)
2022
 
(32)
2026
 
 
 
(48)
รวม
ทีม  
 
 
 











 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 



 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 



 
 
 
 
 
 









 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 



 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 



 
 
 
 
 
 
 
 
 
 





 
 
 
 
 
 
 
 
 
 





 
 
 
 
 
 
 
 
 






 
 
 
 
 
 
 
 
 






 
 
 
 
 
 
 
 
 
 





 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 


 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 


 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 


 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 


258
16 ทีมสุดท้าย 10[a] 10 10 10 10 9 10 6 6 10 8 99
8 ทีมสุดท้าย 8 6 6 7 6 5 4 6 5 5 6 7 6 4 6 3 4 6 5 105
4 ทีมสุดท้าย 1 4 3 2 3 3 2 4 2 3 2 4 3 3 3 3 2 4 3 2 4 2 62
2 ทีมสุดท้าย 0 2 2 0 2 1 1 2 1 2 1 2 1 1 1 1 1 2 2 1 2 1 29
1                         12
2                                   17
3                                     17
4                               15

สรุปผลแบ่งตามประเทศ แก้

ประเทศ จำนวนครั้ง ปี ค.ศ. ผลงานดีที่สุด
  เยอรมนี[1] 20 1934, 1938, 1954, 1958, 1962, 1966, 1970, 1974, 1978, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 1
  อิตาลี   18 1934, 1938, 1950, 1954, 1962, 1966, 1970, 1974, 1978, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014 1
  ฝรั่งเศส   16 1930, 1934, 1938, 1954, 1958, 1966, 1978, 1982, 1986, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 1
  สเปน   16 1934, 1950, 1962, 1966, 1978, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 1
  อังกฤษ   16 1950, 1954, 1958, 1962, 1966, 1970, 1982, 1986, 1990, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 1
  เบลเยียม   14 1930, 1934, 1938, 1954, 1970, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2014, 2018, 2022 3
  เซอร์เบีย[2] 13 1930, 1950, 1954, 1958, 1962, 1974, 1982, 1990, 1998, 2006, 2010, 2018, 2022 4
  สวิตเซอร์แลนด์   12 1934, 1938, 1950, 1954, 1962, 1966, 1994, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 QF
  สวีเดน   12 1934, 1938, 1950, 1958, 1970, 1974, 1978, 1990, 1994, 2002, 2006, 2018 2
  เนเธอร์แลนด์   11 1934, 1938, 1974, 1978, 1990, 1994, 1998, 2006, 2010, 2014, 2022 2
  รัสเซีย[3] 11 1958, 1962, 1966, 1970, 1982, 1986, 1990, 1994, 2002, 2014, 2018 4
  เช็กเกีย[4] 9 1934, 1938, 1954, 1958, 1962, 1970, 1982, 1990, 2006 2
  ฮังการี   9 1934, 1938, 1954, 1958, 1962, 1966, 1978, 1982, 1986 2
  โปแลนด์   9 1938, 1974, 1978, 1982, 1986, 2002, 2006, 2018, 2022 3
  โปรตุเกส   8 1966, 1986, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 3
  สกอตแลนด์   8 1954, 1958, 1974, 1978, 1982, 1986, 1990, 1998 R1
  ออสเตรีย   7 1934, 1954, 1958, 1978, 1982, 1990, 1998 3
  บัลแกเรีย   7 1962, 1966, 1970, 1974, 1986, 1994, 1998 4
  โรมาเนีย   7 1930, 1934, 1938, 1970, 1990, 1994, 1998 QF
  โครเอเชีย   6 1998, 2002, 2006, 2014, 2018, 2022 2
  เดนมาร์ก   6 1986, 1998, 2002, 2010, 2018, 2022 QF
  ไอร์แลนด์เหนือ   3 1958, 1982, 1986 QF
  สาธารณรัฐไอร์แลนด์   3 1990, 1994, 2002 QF
  นอร์เวย์   3 1938, 1994, 1998 R2
  กรีซ   3 1994, 2010, 2014 R2
  ตุรกี   2 1954, 2002 3
  เวลส์   2 1958, 2022 QF
  สโลวีเนีย   2 2002, 2010 R1
  ยูเครน   1 2006 QF
  เยอรมนีตะวันออก   1 1974 R2
  สโลวาเกีย   1 2010 R2
  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา   1 2014 R1
  ไอซ์แลนด์   1 2018 R1
  อิสราเอล[5]
1
(1970) R1
  • ตัวหนา หมายถึง ปีที่จบอันดับดีที่สุด

ผลการแข่งขัน แก้

ทีมที่จบการแข่งขันด้วยอันดับ 4 ทีมสุดท้ายมากที่สุด แก้

ทีม ครั้ง อันดับ 4 ทีมสุดท้าย
  เยอรมนี[1]
13
1934, 1954, 1958, 1966, 1970, 1974, 1982, 1986, 1990, 2002, 2006, 2010, 2014
  อิตาลี
8
1934, 1938, 1970, 1978, 1982, 1990, 1994, 2006
  ฝรั่งเศส
7
1958, 1982, 1986, 1998, 2006, 2018, 2022
  เนเธอร์แลนด์
5
1974, 1978, 1998, 2010, 2014
  สวีเดน
4
1938, 1950, 1958, 1994
  อังกฤษ
3
1966, 1990, 2018
  โครเอเชีย
3
1998, 2018, 2022
  เซอร์เบีย[2]
2
1930, 1962
  ออสเตรีย
2
1934, 1954
  เช็กเกีย[4]
2
1934, 1962
  ฮังการี
2
1938, 1954
  สเปน
2
1950, 2010
  โปรตุเกส
2
1966, 2006
  โปแลนด์
2
1974, 1982
  เบลเยียม
2
1986, 2018
  รัสเซีย[3]
1
1966
  บัลแกเรีย
1
1994
  ตุรกี
1
2002

เชิงอรรถ แก้

  1. ในปี ค.ศ. 1982 ในรอบที่สองมี 12 ทีมแข่งขันแบบแบ่งกลุ่มมีทั้งหมด 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทีม มีเพียงผู้ชนะเท่านั้นที่จะผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ: ไม่มีรอบก่อนรองชนะเลิศ

หมายเหตุ แก้

  1. 1.0 1.1 เยอรมนี (สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเป็นชื่ออย่างเป็นทางการตั้งแต่ ค.ศ. 1949) มีตัวแทนเพียงองค์กรเดียว (ดัชฟุสบอล-บันด์ (DFB)) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1904 ต่อมาหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และการแบ่งแยกประเทศเยอรมนี มีเพียงดัชฟุสบอล-บันด์ที่ได้รับการยอมรับจากฟีฟ่าอีกครั้งหลังจากฟุตบอลโลก 1950 ในขณะที่ซาร์ (จนถึงปี ค.ศ. 1956) และประเทศเยอรมนีตะวันออก (จนกระทั่งปี ค.ศ. 1990) เข้าร่วมแข่งขันให้กับทีมของตนเองก่อนที่จะรวมกับเยอรมนีตะวันตกกับดัชฟุสบอล-บันด์ในการรวมประเทศเยอรมนี ฟีฟ่าระบุอย่างเป็นทางการว่าผลงานระดับนานาชาติของทีม ดัชฟุสบอล-บันด์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1908 เป็นของเยอรมนี รวมทั้งผลงานในช่วงปี ค.ศ. 1954-1990 ซึ่งทีมถูกเรียกว่าเยอรมนีตะวันตกด้วย
  2. 2.0 2.1 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (1930) และ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (1950-1990) ผ่านการคัดเลือก 8 ครั้งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1930-1990 ภายใต้ชื่อ ยูโกสลาเวีย ก่อนล่มสลายโดยการแยกตัวของหลายสาธารณรัฐที่เป็นส่วนประกอบในปี ค.ศ. 1992 สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ผ่านการคัดเลือก 1 ครั้งในปี ค.ศ. 1998 ภายใต้ชื่อ ยูโกสลาเวีย และ เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ผ่านการคัดเลือก 1 ครั้งในปี ค.ศ. 2006 หลังจากเปลี่ยนชื่อในปี ค.ศ. 2003 ทีมทั้งหมดนี้ฟีฟ่าถือเป็นทีมก่อนหน้าของทีม เซอร์เบีย ในปัจจุบัน ทีมชาติอื่น ๆ ซึ่งเป็นผลมาจากการล่มสลายของยูโกสลาเวียดั้งเดิม ได้แก่ โครเอเชีย, สโลวีเนีย, บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา และ สาธารณรัฐยูโกสลาเวียมาซิโดเนีย ถือเป็นหน่วยงานที่แตกต่างจากทีมยูโกสลาเวียในปี ค.ศ. 1930-1990 มอนเตเนโกร และ คอซอวอ ตอนนี้แข่งขันแยกกันหลังจากได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 2006 และ 2008 ตามลำดับ ในปี ค.ศ. 2010 เซอร์เบียเปิดตัวในฟุตบอลโลกด้วยทีมชาติของพวกเขาเอง
  3. 3.0 3.1 สหภาพโซเวียต ผ่านการคัดเลือก 7 ครั้งก่อนถูกยุบในปี ค.ศ. 1991 มี 15 ชาติที่เคยเป็นสาธารณรัฐโซเวียตที่ขณะนี้แข่งขันแยกกัน ฟีฟ่าถือว่า รัสเซีย เป็นทีมสืบทอดต่อจากสหภาพโซเวียต
  4. 4.0 4.1 เชโกสโลวาเกีย ผ่านการคัดเลือก 8 ครั้งก่อนถูกแบ่งเป็น สโลวาเกีย และ สาธารณรัฐเช็ก ในปี ค.ศ. 1993 ฟีฟ่าถือว่าสาธารณรัฐเช็กเป็นทีมสืบทอดต่อจากเชโกสโลวาเกีย ทีมชาติอื่น ๆ ซึ่งเป็นผลมาจากการล่มสลายของเชโกสโลวาเกีย ได้แก่ สโลวาเกีย ถือเป็นหน่วยงานที่แตกต่างจากทีมเชโกสโลวาเกีย ทีมชาติสาธารณรัฐเช็กผ่านการคัดเลือกฟุตบอลโลกเป็นครั้งแรกหลังจากถูกแบ่งประเทศในปี ค.ศ. 2006 โดยสโลวาเกียทำได้เช่นเดียวกันในปี ค.ศ. 2010
  5. อิสราเอลผ่านการคัดเลือกในปี ค.ศ. 1970 ในฐานะสมาชิกของเอเอฟซี พวกเขาถูกไล่ออกจากเอเอฟซี ในปี ค.ศ. 1974 และเข้าร่วมยูฟ่า ในปี ค.ศ. 1994

แหล่งข้อมูลอื่น แก้