ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย

ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย (เช็ก: Československá fotbalová reprezentace, สโลวัก: Československé národné futbalové mužstvo) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากเชโกสโลวาเกียในช่วง พ.ศ. 2465-2536 (ค.ศ. 1922-1993) ภายหลังประเทศนี้ได้แยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก ทีมชาติจึงได้ถูกแบ่งออกเป็นทีมชาติเช็กเกียและทีมชาติสโลวาเกีย

เชโกสโลวาเกีย
to 1920–1992
Shirt badge/Association crest
สมาคมสมาคมฟุตบอลเชโกสโลวาเกีย
ติดทีมชาติสูงสุดซเดเนค เนฮอดา (91)
ทำประตูสูงสุดอานทอนีน พุช (34)
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าTCH
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติฮังการี ฮังการี 2–1 โบฮีเมีย ธงชาติโบฮีเมีย
(บูดาเปสต์ ประเทศฮังการี; 5 เมษายน ค.ศ. 1903)[a]
หลังเป็นเอกราช
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920)
ชนะสูงสุด
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920)
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(ปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1925)
แพ้สูงสุด
ธงชาติฮังการี ฮังการี 8–3 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(บูดาเปสต์ ประเทศฮังการี; 19 กันยายน ค.ศ. 1937)
ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 5–0 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(กลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์; 8 ธันวาคม ค.ศ. 1937)
ธงชาติฮังการี ฮังการี 5–0 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(ประเทศฮังการี; 30 เมษายน ค.ศ. 1950)
ธงชาติฮังการี ฮังการี 5–0 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(ประเทศฮังการี; 19 ตุลาคม ค.ศ. 1952)
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย 5–0 เชโกสโลวาเกีย ธงชาติเชโกสโลวาเกีย
(ซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์; 19 มิถุนายน ค.ศ. 1954)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม8 (ครั้งแรกใน 1934)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1934, 1962)
ยูฟ่ายูโรปาลีก
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1960)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1976)

ปัจจุบันทีมชาติเช็กเกียถือเป็นผู้สืบทอดทีมชาติเชโกสโลวาเกียแต่เพียงผู้เดียว ภายใต้การรับรองของฟีฟ่าและยูฟ่า

ทีมชาติเชโกสโลวาเกียนี้ได้อันดับรองชนะเลิศในฟุตบอลโลก 2 ครั้งใน ฟุตบอลโลก 1934 และฟุตบอลโลก 1962 ชนะเลิศฟุตบอลยูโร ในฟุตบอลยูโร 1976 และยังคงได้เหรียญทองฟุตบอลโอลิมปิก 1980 ที่มอสโก และเหรียญเงินโอลิมปิก 1964 ที่ โตเกียว

ประวัติ แก้

ชุดแข่ง แก้

 
 
 
 
 
1934–1976
 
 
 
 
 
 
1950–1967 (เยือน)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1980–1989
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เหย้าใน ค.ศ. 1990
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เยือนใน ค.ศ. 1990
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เยือนใน ค.ศ. 1992–93


เกียรติประวัติ แก้

ฟุตบอลโลก แก้

  • 1930 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1934 - รองชนะเลิศ
  • 1938 - รอบสี่ทีมสุดท้าย
  • 1950 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1954, 1958 - รอบแรก
  • 1962 - รองชนะเลิศ
  • 1966 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1970 - รอบแรก
  • 1974, 1978 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1982 - รอบแรก
  • 1986 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1990 - รอบ 8 ทีมสุดท้าย
  • 1994 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก และประเทศได้แบ่งออกเป็นสองประเทศในปี 1993

ฟุตบอลโอลิมปิก แก้

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป แก้

  • 1960 - อันดับสาม
  • 1964 - 1972 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1976 - ชนะเลิศ
  • 1980 - อันดับสาม
  • 1984 - 1992 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

ผู้เล่น แก้

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ แก้

หมายเหตุ แก้

  1. ทางสมาคมฟุตบอลสาธารณรัฐเช็ก (FAČR) ยอมรับการแข่งขันครั้งแรกอยู่ในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1906 โดยทีมตัวแทนปรากของ FAČR ยอมรับการแข่งขันระหว่างฮังการีกับโบฮีเมียในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1903 ส่วนทางสหพันธ์ฟุตบอลฮังการียอมรับให้เดือนเมษายน ค.ศ. 1903 เป็นเดือนแข่งขันครั้งแรกของโบฮีเมีย[1]

อ้างอิง แก้

  1. "1901-1910 MATCHES". University of Cambridge. สืบค้นเมื่อ 23 February 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้