ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป เป็นการทำหน้าที่สำหรับรอบคัดเลือก ฟุตบอลโลก 2018, ที่จะจัดขึ้นในรัสเซีย, สำหรับทีมชาติที่เป็นสมาชิกของ สหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า). นอกจาก รัสเซีย, ซึ่งมีสิทธิ์ผ่านเข้ารอบในฐานะเจ้าภาพ, ทั้งหมด 13 ช่องในรอบสุดท้ายที่มีอยู่สำหรับทีมจากยูฟ่า.[1]

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่4 กันยายน พ.ศ. 2559 – 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
ทีม52 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน278
จำนวนประตู807 (2.9 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม5,554,044 (19,979 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี
(16 ประตู)
2014
2022

ตารางการแข่งขัน แก้

การแข่งขันรอบคัดเลือกจะเริ่มต้นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2559, ดังต่อไปนี้ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016, และเสร็จสิ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560.[2][3]

รอบ นัดที่ วันที่
รอบแรก
(รอบคัดเลือก)
นัดที่ 1 4–6 กันยายน 2559
นัดที่ 2 6–8 ตุลาคม 2559
นัดที่ 3 9–11 ตุลาคม 2559
นัดที่ 4 11–13 พฤศจิกายน 2559
นัดที่ 5 24–26 มีนาคม 2560
นัดที่ 6 9–11 มิถุนายน 2560
นัดที่ 7 31 สิงหาคม–2 กันยายน 2560
นัดที่ 8 3–5 กันยายน 2560
นัดที่ 9 5–7 ตุลาคม 2560
นัดที่ 10 8–10 ตุลาคม 2560
รอบ นัดที่ วันที่
รอบสอง
(เพลย์ออฟ)
นัดแรก 9–11 พฤศจิกายน 2560
นัดที่สอง 12–14 พฤศจิกายน 2560

รอบแรก แก้

ทีมวาง แก้

การจับสลากสำหรับรอบแรก (รอบแบ่งกลุ่ม) ที่จัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของการจับสลากฟุตบอลโลก 2018 เบื้องต้น เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2558, ที่เริ่มต้นในเวลา 18:00 MSK (UTC+3), ที่ คอนสแตนตินอฟสกี พาเลซ ใน สเตรลนา, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, รัสเซีย.[3]

โถที่ 1 โถที่ 2 โถที่ 3

  เยอรมนี (2)
  เบลเยียม (3)
  เนเธอร์แลนด์ (5)
  โปรตุเกส (7)
  โรมาเนีย (8)
  อังกฤษ (9)
  เวลส์ (10)
  สเปน (12)
  โครเอเชีย (14)

  สโลวาเกีย (15)
  ออสเตรีย (15)
  อิตาลี (17)
  สวิตเซอร์แลนด์ (18)
  เช็กเกีย (20)
  ฝรั่งเศส (22)
  ไอซ์แลนด์ (23)
  เดนมาร์ก (24)
  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (26)

  ยูเครน (27)
  สกอตแลนด์ (29)
  โปแลนด์ (30)
  ฮังการี (31)
  สวีเดน (33)
  แอลเบเนีย (36)
  ไอร์แลนด์เหนือ (37)
  เซอร์เบีย (43)
  กรีซ (44)

โถที่ 4 โถที่ 5 โถที่ 6

  ตุรกี (48)
  สโลวีเนีย (49)
  อิสราเอล (51)
  สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (52)
  นอร์เวย์ (67)
  บัลแกเรีย (68)
  หมู่เกาะแฟโร (74)
  มอนเตเนโกร (81)
  เอสโตเนีย (82)

  ไซปรัส (85)
  ลัตเวีย (87)
  อาร์มีเนีย (89)
  ฟินแลนด์ (90)
  เบลารุส (100)
  มาซิโดเนียเหนือ (105)
  อาเซอร์ไบจาน (108)
  ลิทัวเนีย (110)
  มอลโดวา (124)

  คาซัคสถาน (142)
  ลักเซมเบิร์ก (146)
  ลีชเทินชไตน์ (147)
  จอร์เจีย (153)
  มอลตา (158)
  ซานมารีโน (192)
  อันดอร์รา (202)

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   ฝรั่งเศส 10 7 2 1 18 6 +12 23 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 2–1 4–0 4–1 0–0 2–1
2   สวีเดน 10 6 1 3 26 9 +17 19 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 2 2–1 1–1 3–0 8–0 4–0
3   เนเธอร์แลนด์ 10 6 1 3 21 12 +9 19 0–1 2–0 3–1 5–0 4–1
4   บัลแกเรีย 10 4 1 5 14 19 −5 13 0–1 3–2 2–0 4–3 1–0
5   ลักเซมเบิร์ก 10 1 3 6 8 26 −18 6 1–3 0–1 1–3 1–1 1–0
6   เบลารุส 10 1 2 7 6 21 −15 5 0–0 0–4 1–3 2–1 1–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   โปรตุเกส 10 9 0 1 32 4 +28 27 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 2–0 3–0 5–1 4–1 6–0
2   สวิตเซอร์แลนด์ 10 9 0 1 23 7 +16 27 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 2 2–0 5–2 2–0 1–0 3–0
3   ฮังการี 10 4 1 5 14 14 0 13 0–1 2–3 1–0 3–1 4–0
4   หมู่เกาะแฟโร 10 2 3 5 4 16 −12 9 0–6 0–2 0–0 0–0 1–0
5   ลัตเวีย 10 2 1 7 7 18 −11 7 0–3 0–3 0–2 0–2 4–0
6   อันดอร์รา 10 1 1 8 2 23 −21 4 0–2 1–2 1–0 0–0 0–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

กลุ่ม ซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   เยอรมนี 10 10 0 0 43 4 +39 30 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 2–0 3–0 6–0 5–1 7–0
2   ไอร์แลนด์เหนือ 10 6 1 3 17 6 +11 19 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 2 1–3 2–0 2–0 4–0 4–0
3   เช็กเกีย 10 4 3 3 17 10 +7 15 1–2 0–0 2–1 0–0 5–0
4   นอร์เวย์ 10 4 1 5 17 16 +1 13 0–3 1–0 1–1 2–0 4–1
5   อาเซอร์ไบจาน 10 3 1 6 10 19 −9 10 1–4 0–1 1–2 1–0 5–1
6   ซานมารีโน 10 0 0 10 2 51 −49 0 0–8 0–3 0–6 0–8 0–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

กลุ่ม ดี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   เซอร์เบีย 10 6 3 1 20 10 +10 21 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 2–2 1–1 3–2 1–0 3–0
2   สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 10 5 4 1 12 6 +6 19 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 2 0–1 0–0 1–1 1–0 2–0
3   เวลส์ 10 4 5 1 13 6 +7 17 1–1 0–1 1–0 1–1 4–0
4   ออสเตรีย 10 4 3 3 14 12 +2 15 3–2 0–1 2–2 1–1 2–0
5   จอร์เจีย 10 0 5 5 8 14 −6 5 1–3 1–1 0–1 1–2 1–1
6   มอลโดวา 10 0 2 8 4 23 −19 2 0–3 1–3 0–2 0–1 2–2
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

กลุ่ม อี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   โปแลนด์ 10 8 1 1 28 14 +14 25 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 3–2 4–2 3–1 2–1 3–0
2   เดนมาร์ก 10 6 2 2 20 8 +12 20 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 2 4–0 0–1 1–1 1–0 4–1
3   มอนเตเนโกร 10 5 1 4 20 12 +8 16 1–2 0–1 1–0 4–1 5–0
4   โรมาเนีย 10 3 4 3 12 10 +2 13 0–3 0–0 1–1 1–0 3–1
5   อาร์มีเนีย 10 2 1 7 10 26 −16 7 1–6 1–4 3–2 0–5 2–0
6   คาซัคสถาน 10 0 3 7 6 26 −20 3 2–2 1–3 0–3 0–0 1–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

กลุ่ม เอฟ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   อังกฤษ 10 8 2 0 18 3 +15 26 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 2–1 3–0 1–0 2–0 2–0
2   สโลวาเกีย 10 6 0 4 17 7 +10 18 0–1 3–0 1–0 4–0 3–0
3   สกอตแลนด์ 10 5 3 2 17 12 +5 18 2–2 1–0 1–0 1–1 2–0
4   สโลวีเนีย 10 4 3 3 12 7 +5 15 0–0 1–0 2–2 4–0 2–0
5   ลิทัวเนีย 10 1 3 6 7 20 −13 6 0–1 1–2 0–3 2–2 2–0
6   มอลตา 10 0 1 9 3 25 −22 1 0–4 1–3 1–5 0–1 1–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

กลุ่ม จี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   สเปน 10 9 1 0 36 3 +33 28 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 3–0 3–0 4–1 4–0 8–0
2   อิตาลี 10 7 2 1 21 8 +13 23 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 2 1–1 2–0 1–0 1–1 5–0
3   แอลเบเนีย 10 4 1 5 10 13 −3 13 0–2 0–1 0–3 2–1 2–0
4   อิสราเอล 10 4 0 6 10 15 −5 12 0–1 1–3 0–3 0–1 2–1
5   มาซิโดเนียเหนือ 10 3 2 5 15 15 0 11 1–2 2–3 1–1 1–2 4–0
6   ลีชเทินชไตน์ 10 0 0 10 1 39 −38 0 0–8 0–4 0–2 0–1 0–3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

กลุ่ม เอช แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   เบลเยียม 10 9 1 0 43 6 +37 28 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 1–1 4–0 8–1 4–0 9–0
2   กรีซ 10 5 4 1 17 6 +11 19 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 2 1–2 1–1 0–0 2–0 4–0
3   บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 10 5 2 3 24 13 +11 17 3–4 0–0 5–0 2–0 5–0
4   เอสโตเนีย 10 3 2 5 13 19 −6 11 0–2 0–2 1–2 1–0 4–0
5   ไซปรัส 10 3 1 6 9 18 −9 10 0–3 1–2 3–2 0–0 3–1
6   ยิบรอลตาร์ 10 0 0 10 3 47 −44 0 0–6 1–4 0–4 0–6 1–2
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

กลุ่ม ไอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ            
1   ไอซ์แลนด์ 10 7 1 2 16 7 +9 22 ได้สิทธิ์เข้าสู่ รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ 1–0 2–0 2–0 3–2 2–0
2   โครเอเชีย 10 6 2 2 15 4 +11 20 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 2 2–0 1–0 1–1 1–1 1–0
3   ยูเครน 10 5 2 3 13 9 +4 17 1–1 0–2 2–0 1–0 3–0
4   ตุรกี 10 4 3 3 14 13 +1 15 0–3 1–0 2–2 2–0 2–0
5   ฟินแลนด์ 10 2 3 5 9 13 −4 9 1–0 0–1 1–2 2–2 1–1
6   คอซอวอ 10 0 1 9 3 24 −21 1 1–2 0–6 0–2 1–4 0–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ

การจัดอันดับสองที่ดีที่สุด แก้

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 บี   สวิตเซอร์แลนด์ 8 7 0 1 18 6 +12 21 ผ่านเข้าสู่ รอบที่สอง (เพลย์ออฟ)
2 จี   อิตาลี 8 5 2 1 12 8 +4 17
3 อี   เดนมาร์ก 8 4 2 2 13 6 +7 14
4 ไอ   โครเอเชีย 8 4 2 2 8 4 +4 14
5 เอ   สวีเดน 8 4 1 3 18 9 +9 13
6 ซี   ไอร์แลนด์เหนือ 8 4 1 3 10 6 +4 13
7 เอช   กรีซ 8 3 4 1 9 5 +4 13
8 ดี   สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 8 3 4 1 7 5 +2 13
9 เอฟ   สโลวาเกีย 8 4 0 4 11 6 +5 12
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : Counting only matches against teams ranked first to fifth in the group, 1) Points; 2) Goal difference; 3) Goals scored; 4) Fair play points; 5) Drawing of lots.[4][5]

รอบสอง แก้

แปดทีมรองชนะเลิศกลุ่มที่ดีที่สุดจะเข้าแข่งขันรอบที่สอง, โดยที่พวกเขาจะถูกจับคู่อยู่ในโปรแกรมการแข่งขันสี่คู่ระบบสองนัด (เหย้าและเยือน).

การจับสลากประกบคู่สำหรับรอบสอง (เพลย์ออฟ) จะจัดขึ้นในวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2560, 14:00 CEST (UTC+2), ที่สำนักงานใหญ่ฟีฟ่าใน ซูริค, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์.[6] แปดทีมจะถูกจัดเป็นทีมวางโดย อันดับโลกฟีฟ่า ได้เผยแพร่เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560, กับสี่ทีมบนในโถที่ 1, และสี่ทีมที่เหลืออยู่ในโถที่ 2. ทีมที่มาจากโถที่ 1 ลงเล่นทีมที่มาจากโถที่ 2 บนโครงสร้างเหย้าและเยือน, กับคำสั่งของเลกขึ้นอยู่กับการจับสลาก.

หลังจากรอบแรก (รอบแบ่งกลุ่ม) เป็นอันเสร็จสิ้น. นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 9–11 พฤศจิกายน, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 12–14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560. ผู้ชนะของแต่ละคู่จะได้ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลก.

ทีมวางและการจับสลาก แก้

ทีมด้านล่างนี้คือมีส่วนร่วมในรอบที่สอง:

โถ 1 โถ 2

  สวิตเซอร์แลนด์ (11)
  อิตาลี (15)
  โครเอเชีย (18)
  เดนมาร์ก (19)

  ไอร์แลนด์เหนือ (23)
  สวีเดน (25)
  สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (26)
  กรีซ (47)

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ไอร์แลนด์เหนือ   0–1   สวิตเซอร์แลนด์ 0–1 0–0
โครเอเชีย   4–1   กรีซ 4–1 0–0
เดนมาร์ก   5–1   สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 0–0 5–1
สวีเดน   1–0   อิตาลี 1–0 0–0

ทีม 1 ลงเล่นเกมเหย้าในเลกแรกและออกไปเยือนในเลกที่สอง.

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

ด้านล่างนี้คือทีมที่มาจากโซนยุโรปที่ได้สิทธิ์ผ่านเข้าไปเล่นสำหรับรอบสุดท้าย.

ทีมชาติ วิธีการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ ครั้งที่เข้ารอบ1
  รัสเซีย เจ้าภาพ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553 10 (19582, 19622, 19662, 19702, 19822, 19862, 19902, 1994, 2002, 2014)
  ฝรั่งเศส กลุ่ม เอ ชนะเลิศ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 14 (1930, 1934, 1938, 1954, 1958, 1966, 1978, 1982, 1986, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014)
  โปรตุเกส กลุ่ม บี ชนะเลิศ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 6 (1966, 1986, 2002, 2006, 2010, 2014)
  เยอรมนี กลุ่ม ซี ชนะเลิศ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560 18 (1934, 1938, 19543, 19583, 19623, 19663, 19703, 19743, 19783, 19823, 19863, 19903, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014)
  เซอร์เบีย กลุ่ม ดี ชนะเลิศ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560 11 (19304, 19504, 19544, 19584, 19624, 19744, 19824, 19904, 19984, 20064, 2010)
  โปแลนด์ กลุ่ม อี ชนะเลิศ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2560 7 (1938, 1974, 1978, 1982, 1986, 2002, 2006)
  อังกฤษ กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560 14 (1950, 1954, 1958, 1962, 1966, 1970, 1982, 1986, 1990, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014)
  สเปน กลุ่ม จี ชนะเลิศ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2560 14 (1934, 1950, 1962, 1966, 1978, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014)
  เบลเยียม กลุ่ม เอช ชนะเลิศ 3 กันยายน พ.ศ. 2560 12 (1930, 1934, 1938, 1954, 1970, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2014)
  ไอซ์แลนด์ กลุ่ม ไอ ชนะเลิศ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560 0 (เปิดตัวครั้งแรก)
  สวิตเซอร์แลนด์ รอบที่ 2 (เพลย์ออฟ) ชนะเลิศ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 10 (1934, 1938, 1950, 1954, 1962, 1966, 1994, 2006, 2010, 2014)
  โครเอเชีย รอบที่ 2 (เพลย์ออฟ) ชนะเลิศ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 4 (1998, 2002, 2006, 2014)
  สวีเดน รอบที่ 2 (เพลย์ออฟ) ชนะเลิศ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 11 (1934, 1938, 1950, 1958, 1970, 1974, 1978, 1990, 1994, 2002, 2006)
  เดนมาร์ก รอบที่ 2 (เพลย์ออฟ) ชนะเลิศ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 4 (1986, 1998, 2002, 2010)
1 ตัวหนา หมายถึงทีมแชมเปียนส์สำหรับปีนั้น. ตัวเอียง หมายถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.
4 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2473 ถึง พ.ศ. 2549, เซอร์เบีย เข้าร่วมการแข่งขันในฐานะ ยูโกสลาเวีย และ เซอร์เบียและมอนเตเนโกร.

อันดับดาวซัลโว แก้

16 ประตู
15 ประตู
11 ประตู
9 ประตู
8 ประตู
7 ประตู
6 ประตู

สำหรับรายชื่อเต็มของอันดับดาวซัลโว, ดูที่ส่วนในแต่ละกลุ่ม:

อ้างอิง แก้

  1. "Current allocation of FIFA World Cup™ confederation slots maintained". FIFA.com. 30 พฤษภาคม 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-17. สืบค้นเมื่อ 2015-10-12.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ approval
  3. 3.0 3.1 "FIFA World Cup qualifying draw format". UEFA.com. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "Competition format - FIFA World Cup - News - UEFA.com". uefa.com. UEFA. สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  5. "As it stands: ranking of second-placed teams". UEFA.com. 3 ตุลาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  6. "FIFA World Cup European play-off draw to take place on 17 October". FIFA.com. 6 กันยายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-12. สืบค้นเมื่อ 2017-10-11. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้