การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แก้

การเลือกตั้ง รูปแบบ จำนวน ส.ส. ที่เลือกตั้ง จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้มาใช้สิทธิ พรรคที่ชนะ
จำนวน % พรรค ส.ส. ที่ได้ ร้อยละคะแนน
ครั้งที่ 1
(พ.ศ. 2576)
ทางอ้อม 78 จาก 156 4,278,231 1,773,532 41.45 ไม่มี ส.ส. คนใดสังกัดพรรค
ครั้งที่ 2
(พ.ศ. 2580)
แบ่งเขตคะแนนสูงสุด 91 จาก 182 6,123,239 2,462,535 40.22 ไม่มี ส.ส. คนใดสังกัดพรรค
ครั้งที่ 3
(พ.ศ. 2481)
แบ่งเขตคะแนนสูงสุด 91 จาก 182 6,310,172 2,210,332 35.05 ไม่มี ส.ส. คนใดสังกัดพรรค
ครั้งที่ 4
(มกราคม พ.ศ. 2489)
แบ่งเขตคะแนนสูงสุด 96 จาก 192 6,431,827 2,091,827 32.52 ไม่มี ส.ส. คนใดสังกัดพรรค
เพิ่มเติม
(สิงหาคม พ.ศ. 2489)
แบ่งเขตคะแนนสูงสุด 82 จาก 186 5,819,662 2,026,823 34.92 แนวรัฐธรรมนูญ 57
ครั้งที่ 5
(พ.ศ. 2491)
แบ่งเขตหลายเบอร์ (รวมเขตจังหวัด) 99 จาก 186 7,176,891 2,177,464 29.50 ประชาธิปัตย์ 53
เพิ่มเติม
(พ.ศ. 2492)
แบ่งเขตหลายเบอร์ (รวมเขตจังหวัด) 21 จาก 207 3,518,276 870,208 24.27 ไม่มี ส.ส. คนใดสังกัดพรรค
ครั้งที่ 6
(พ.ศ. 2495)
แบ่งเขตหลายเบอร์ (รวมเขตจังหวัด) 123 จาก 246 7,602,591 2,961,191 38.95 ไม่มี ส.ส. คนใดสังกัดพรรค
ครั้งที่ 7
(กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500)
แบ่งเขตหลายเบอร์ (รวมเขตจังหวัด) 160 จาก 283 9,859,039 5,668,666 57.50 เสรีมนังคศิลา 86
ครั้งที่ 8
(ธันวาคม พ.ศ. 2500)
แบ่งเขตหลายเบอร์ (รวมเขตจังหวัด) 160 จาก 281 9,917,417 4,370,789 44.07 สหภูมิ 44
ครั้งที่ 9
(พ.ศ. 2512)
แบ่งเขตหลายเบอร์ (รวมเขตจังหวัด) 219 14,820,400 7,289,837 49.16 สหประชาไทย 75
ครั้งที่ 10
(พ.ศ. 2518)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 269 20,243,791 9,549,924 47.17 ประชาธิปัตย์ 72 17.23
ครั้งที่ 11
(พ.ศ. 2519)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 279 20,623,430 9,072,629 43.69 ประชาธิปัตย์ 114 25.31
ครั้งที่ 12
(พ.ศ. 2522)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 301 21,283,790 9,344,045 43.90 กิจสังคม 88 21.26
ครั้งที่ 13
(พ.ศ. 2526)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 324 24,224,470 12,295,339 50.76 ชาติไทย 110 23.8
ครั้งที่ 14
(พ.ศ. 2529)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 347 26,224,470 16,670,957 61.43 ประชาธิปัตย์ 100 22.52
ครั้งที่ 15
(พ.ศ. 2531)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 357 26,658,638 16,944,931 63.56 ชาติไทย 87 19.29
ครั้งที่ 16
(มีนาคม พ.ศ. 2535)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 360 31,660,156 19,622,322 61.59 สามัคคีธรรม 79 19.27
ครั้งที่ 17
(กันยายน พ.ศ. 2535)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 360 31,660,156 19,622,322 61.59 ประชาธิปัตย์ 79 21.02
ครั้งที่ 18
(พ.ศ. 2538)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 391 37,817,983 23,462,748 62.04 ชาติไทย 92 22.83
ครั้งที่ 19
(พ.ศ. 2539)
แบ่งเขตหลายเบอร์ 395 38,564,836 24,040,836 62.42 ความหวังใหม่ 125 29.14
ครั้งที่ 20
(พ.ศ. 2544)
ระบบคู่ขนาน
(แบ่งเขตคะแนนสูงสุด+บัญชีรายชื่อ)
500
(400+100)
42,759,001 29,909,271 69.95 ไทยรักไทย 248 39.91
ครั้งที่ 21
(พ.ศ. 2548)
ระบบคู่ขนาน
(แบ่งเขตคะแนนสูงสุด+บัญชีรายชื่อ)
500
(400+100)
44,572,101 32,341,330 72.56 ไทยรักไทย 377 60.48
ครั้งที่ 22
(พ.ศ. 2549)
ระบบคู่ขนาน
(แบ่งเขตคะแนนสูงสุด+บัญชีรายชื่อ)
500
(400+100)
44,778,628 29,088,209 64.77 ไทยรักไทย 461 59.91
การเลือกตั้งเป็นโมฆะ[a]
ครั้งที่ 23
(พ.ศ. 2550)
ระบบคู่ขนาน
(แบ่งเขตหลายเบอร์+สัดส่วน)
480
(400+80)
44,002,593 32,792,246 85.38 พลังประชาชน 233 38.61
ครั้งที่ 24
(พ.ศ. 2554)
ระบบคู่ขนาน
(แบ่งเขตคะแนนสูงสุด+บัญชีรายชื่อ)
500
(375+125)
46,939,549 35,220,208 75.03 เพื่อไทย 265 47.03
ครั้งที่ 25
(พ.ศ. 2557)
ระบบคู่ขนาน
(แบ่งเขตคะแนนสูงสุด+บัญชีรายชื่อ)
500
(375+125)
43,024,042 20,531,073 47.72 การเลือกตั้งเป็นโมฆะ[b]
ครั้งที่ 26
(พ.ศ.2562)
ระบบเสียงเดียวผสม
(แบ่งเขตคะแนนสูงสุด+บัญชีรายชื่อ)
500
(350+150)
51,239,638 38,268,375 74.69 เพื่อไทย(ฝ่ายค้าน) 136 21.92
ครั้งที่ 27
(พ.ศ.2566)
ระบบคู่ขนาน
(แบ่งเขตคะแนนสูงสุด+บัญชีรายชื่อ)
500
(400+100)
52,045,889 การเลือกตั้งคาดว่าจะจัดขึ้นไม่เกินวันที่ 7 พฤษภาคม 2566
ที่มา: คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ, ect.go.th

การเลือกตั้ง จำนวน
ส.ส.
ผู้มีสิทธิ
เลือกตั้ง
ผู้มาใช้สิทธิ พรรคที่ชนะ ที่นั่ง ร้อยละคะแนนเสียง
1 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 ทางอ้อม 78 จาก 156 4,278,231 1,773,532 41.45
2 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 แบ่งเขต 91 จาก 182 6,123,239 2,462,535 40.22
3 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 แบ่งเขต 91 จาก 182 6,310,172 2,210,332 35.05
4 6 มกราคม พ.ศ. 2489 แบ่งเขต 96 จาก 192 6,431,827 2,091,827 32.52
5 5 สิงหาคม พ.ศ. 2489 แบ่งเขต 82 จาก 186 5,819,662 2,026,823 34.92 แนวรัฐธรรมนูญ 57
6 29 มกราคม พ.ศ. 2491 รวมเขต 99 จาก 186 7,176,891 2,177,464 29.50 ประชาธิปัตย์ 53
7 5 มิถุนายน พ.ศ. 2492 รวมเขต 21 จาก 207 3,518,276 870,208 24.27
8 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 รวมเขต 123 จาก 246 7,602,591 2,961,191 38.95
9 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 รวมเขต 160 จาก 283 9,859,039 5,668,666 57.50 เสรีมนังคศิลา 86
10 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 รวมเขต 160 จาก 281 9,917,417 4,370,789 44.07 สหภูมิ 44
11 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 รวมเขต 219 14,820,400 7,289,837 49.16 สหประชาไทย 75
12 26 มกราคม พ.ศ. 2518 แบ่งเขต
รวมเขต
269 20,243,791 9,549,924 47.17 ประชาธิปัตย์ 72 17.23
13 4 เมษายน พ.ศ. 2519 แบ่งเขต
รวมเขต
279 20,623,430 9,072,629 43.69 ประชาธิปัตย์ 114 25.31
14 22 เมษายน พ.ศ. 2522 แบ่งเขต
รวมเขต
301 21,283,790 9,344,045 43.90 กิจสังคม 88 21.26
15 18 เมษายน พ.ศ. 2526 แบ่งเขต
รวมเขต
324 24,224,470 12,295,339 50.76 ชาติไทย 110 23.8
16 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 แบ่งเขต
รวมเขต
347 26,224,470 16,670,957 61.43 ประชาธิปัตย์ 100 22.52
17 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 แบ่งเขต
รวมเขต
357 26,658,638 16,944,931 63.56 ชาติไทย 87 19.29
18 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 แบ่งเขต
รวมเขต
360 31,660,156 19,622,322 61.59 สามัคคีธรรม 79 19.27
19 13 กันยายน พ.ศ. 2535 แบ่งเขต
รวมเขต
360 31,660,156 19,622,322 61.59 ประชาธิปัตย์ 79 21.02
20 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 แบ่งเขต
รวมเขต
391 37,817,983 23,462,748 62.04 ชาติไทย 92 22.83
21 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 แบ่งเขต
รวมเขต
395 38,564,836 24,040,836 62.42 ความหวังใหม่ 125 29.14
22 6 มกราคม พ.ศ. 2544 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
400
100
42,759,001 29,909,271 69.95 ไทยรักไทย 248 39.91
23 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
400
100
44,572,101 32,341,330 72.56 ไทยรักไทย 377 60.48
24 2 เมษายน พ.ศ. 2549 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
400

100

44,778,628 29,088,209 64.77 ไทยรักไทย(โมฆะ) 461

(โมฆะ)

59.91

(โมฆะ)

25 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 แบ่งเขต
สัดส่วน
400
80
44,002,593 32,792,246 85.38 พลังประชาชน 233 38.61
26 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
375
125
46,939,549 35,220,208 75.03 เพื่อไทย 265 47.03
27 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
350

150

43,024,042 20,531,073 47.72 โมฆะ
28 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
350
150
51,239,638 38,268,375 74.69 เพื่อไทย(ฝ่ายค้าน) 136 21.92
29 ไม่เกิน 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 แบ่งเขต

บัญชีรายชื่อ

400

100

52,045,889 TBC

เลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนพลเมือง (รธน. 2489)

เลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนพลเมือง (รธน. 2492)

การเลือกตั้งเป็นโมฆะ
เนื่องจากตุลาการรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 ว่าพรรคไทยรักไทยได้ว่าจ้างพรรคการเมืองขนาดเล็กให้ลงรับสมัครรับเลือกตั้ง

การเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ตามคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ วันที่ 21 มีนาคม 2557

การเลือกตั้ง ผู้มาใช้สิทธิ
ครั้งที่ [1] วันที่ วิธีการ จำนวน
ผู้สมัคร
จำนวน
ส.ส.
ผู้มีสิทธิ
เลือกตั้ง
จำนวน ร้อยละ จังหวัดที่มีผู้ใช้
สิทธิมากที่สุด
ร้อยละ จังหวัดที่มีผู้ใช้
สิทธิน้อยที่สุด
ร้อยละ พรรคที่ชนะ ที่นั่ง ร้อยละคะแนนเสียง หมายเหตุ
1 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 ทางอ้อม - 78 4,278,231 1,773,532 41.45 เพชรบุรี 78.82
2 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 แบ่งเขต - 91 6,123,239 2,462,535 40.22 นครนายก 80.50 แม่ฮ่องสอน 22.24
3 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 แบ่งเขต - 91 6,310,172 2,210,332 35.05 นครนายก 67.36 ตรัง 16.28
4 6 มกราคม พ.ศ. 2489 แบ่งเขต - 96 6,431,827 2,091,827 32.52 บุรีรัมย์ 54.65 สุพรรณบุรี 13.40
5 5 สิงหาคม พ.ศ. 2489 แบ่งเขต - 5,819,662 2,026,823 34.92 สกลนคร 57.49 นราธิวาส 16.62 เลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนพลเมือง (รธน. 2489)
6 29 มกราคม พ.ศ. 2491 รวมเขต - 99 7,176,891 2,177,464 29.50 ระนอง 58.69 สมุทรปราการ 15.68
7 5 มิถุนายน พ.ศ. 2492 รวมเขต - 21 3,518,276 870,208 24.27 สกลนคร 45.12 อุดรธานี 12.02 เลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนพลเมือง (รธน. 2492)
8 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 รวมเขต - 123 7,602,591 2,961,191 38.95 สระบุรี 77.78 พระนคร 23.03
9 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 รวมเขต 699 160 9,859,039 5,668,666 57.50 สระบุรี 93.30
10 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 รวมเขต 813 160 9,917,417 4,370,789 44.07 ระนอง 73.30 อุดรธานี 29.92
11 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 รวมเขต 1,253 219 14,820,400 7,289,837 49.16 ระนอง 73.95 พระนคร 36.66
12 26 มกราคม พ.ศ. 2518 แบ่งเขต
รวมเขต
2,199 269 20,243,791 9,549,924 47.17 ภูเก็ต 67.87 เพชรบูรณ์ 32.31
13 4 เมษายน พ.ศ. 2519 แบ่งเขต
รวมเขต
2,369 279 20,623,430 9,072,629 43.69 นครพนม 63.53 เพชรบูรณ์ 26.64
14 22 เมษายน พ.ศ. 2522 แบ่งเขต
รวมเขต
1,523 301 21,283,790 9,344,045 43.90 ยโสธร 77.11
15 18 เมษายน พ.ศ. 2526 แบ่งเขต
รวมเขต
1,880 324 24,224,470 12,295,339 50.76 ยโสธร 79.62
16 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 แบ่งเขต
รวมเขต
3,613 347 26,224,470 16,670,957 61.43 ชัยภูมิ 85.15
17 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 แบ่งเขต
รวมเขต
3,612 357 26,658,638 16,944,931 63.56 ยโสธร 90.42
18 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 แบ่งเขต
รวมเขต
2,851 360 31,660,156 19,622,322 61.59 มุกดาหาร 87.11
19 13 กันยายน พ.ศ. 2535 แบ่งเขต
รวมเขต
2,417 360 31,660,156 19,622,322 61.59 มุกดาหาร 90.43
20 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 แบ่งเขต
รวมเขต
2,372 391 37,817,983 23,462,748 62.04 มุกดาหาร 83.80 ชาติไทย
21 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 แบ่งเขต
รวมเขต
2,310 395 38,564,836 24,040,836 62.42 สระแก้ว 87.71 กรุงเทพมหานคร 48.97 ความหวังใหม่
22 6 มกราคม พ.ศ. 2544 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
2,276
940
400
100
42,759,001 29,904,940
29,909,271
69.94
69.95
ลำพูน 83.78 กำแพงเพชร 62.02 ไทยรักไทย 248
23 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
1,707
582
400
100
44,572,101 32,337,611
32,341,330
72.55
72.56
ลำพูน 86.56 หนองคาย 62.55 ไทยรักไทย 377
24 2 เมษายน พ.ศ. 2549 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
400

100

44,778,628 28,998,364

29,088,209

64.76

64.77

ไทยรักไทย 460 การเลือกตั้งเป็นโมฆะ
หมายเหตุ เนื่องจากพรรคไทยรักไทยได้ว่าจ้างพรรคการเมืองขนาดเล็กในลงรับสมัครรับเลือกตั้งโดยที่คะแนนเสียงเลือกไม่ถึง 20% ตามคำพิพากษาในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549
และ พรรคไทยรักไทยโดยศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้ยุบพรรคไทยรักไทย ในวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 และตัดสิทธิ์กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยทั้งหมด 111 คน คนละ 5 ปี
25 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 แบ่งเขต
สัดส่วน
3,894
1,260
400
80
44,002,593 32,775,868
32,792,246
74.49
74.52
ลำพูน 88.90 สกลนคร 66.73 พลังประชาชน 233
26 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
2,422
1,410
375
125
46,939,549 35,220,377
35,220,208
75.03 ลำพูน 88.61 หนองคาย 68.59 เพื่อไทย 265
27 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
การเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
หมายเหตุ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พระราชกฤษฎีกายุบสภาฯ กำหนดให้เลือกตั้งครั้งนี้ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เพราะไม่สามารถเลือกตั้งให้แล้วเสร็จทั่วประเทศได้ภายในวันเดียวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 108 วรรคสอง และเมื่อพระราชกฤษฎีกาในส่วนที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งนี้จึงไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญไปด้วย[2]
คณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นว่าตามคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ถือว่าการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นโมฆะ (หรือเสมือนไม่เคยเกิดขึ้น) แต่ถือว่าการเลือกตั้งได้เกิดขึ้นแล้ว 1 ครั้ง [3]
28 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 แบ่งเขต
บัญชีรายชื่อ
11,181

2,917

350
150
51,239,638 38,268,375 74.69 ลำพูน 87.34 หนองคาย 67.04 เพื่อไทย
29 ไม่เกิน 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 แบ่งเขต

บัญชีรายชื่อ

TBC 400

100

52,045,889 TBC TBC TBC TBC TBC TBC
  1. การเลือกตั้งเป็นโมฆะ เนื่องจากตุลาการรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 ว่าพรรคไทยรักไทยได้ว่าจ้างพรรคการเมืองขนาดเล็กให้ลงรับสมัครรับเลือกตั้ง
  2. การเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญตามคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557 เนื่องจากไม่สามารถจัดการเลือกตั้งในวันเดียวกันได้ทั่วราชอาณาจักร จากกรณีปิดล้อมหน่วยเลือกตั้งในหลายพื้นที่โดยกลุ่ม กปปส.
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :1
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :2