จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ87.34%
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย อนาคตใหม่ พลังประชารัฐ
ที่นั่งก่อนหน้า 2 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 102,685 66,809 50,784
% 37.85 24.63 18.72

ผลการเลือกตั้งตามส่วนต่างคะแนนเสียงเป็นร้อยละ
  •   พรรคเพื่อไทย

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

ภาพรวม

แก้

แบ่งตามพรรค

แก้
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
เพื่อไทย 2 102,685 37.85% 2   100.00%
อนาคตใหม่ 2 66,809 24.63% 0   0.00%
พลังประชารัฐ 2 50,784 18.72% 0   0.00%
อื่น ๆ 54 51,022 18.80% 0   0.00%
ผลรวม 61 271,300 100.00% 2   100.00%
คะแนนเสียง
เพื่อไทย
  
37.85%
อนาคตใหม่
  
24.63%
พลังประชารัฐ
  
18.72%
อื่น ๆ
  
18.80%
ที่นั่ง
เพื่อไทย
  
100.00%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า

แก้

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554

แก้
พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
เพื่อไทย 161,321 62.16% 102,685 37.85%  24.31%
อนาคตใหม่ 66,809 24.63%  24.63%
พลังประชารัฐ 50,784 18.72%  18.72%
ประชาธิปัตย์ 78,410 30.21% 19,909 7.34%  22.87%
อื่น ๆ 19,785 7.63% 31,113 11.46%  3.83%
ผลรวม 259,516 100.00% 271,300 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554

แก้
พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
เพื่อไทย 163,709 64.14% 102,685 37.85%  26.29%
อนาคตใหม่ 66,809 24.63%  24.63%
พลังประชารัฐ 50,784 18.72%  18.72%
ประชาธิปัตย์ 83,360 32.66% 19,909 7.34%  25.32%
อื่น ๆ 8,177 3.20% 31,113 11.46%  8.26%
ผลรวม 255,246 100.00% 271,300 100.00%

แบ่งตามเขต

แก้
เขตเลือกตั้ง เพื่อไทย อนาคตใหม่ พลังประชารัฐ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 51,488 37.68 41,321 30.24 15,775 11.55 28,049 20.53 136,633 100.00 เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 51,197 38.02 25,488 18.93 35,009 26.00 22,978 17.05 134,667 100.00 เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 102,685 37.85 66,809 24.63 50,784 18.72 51,022 18.80 271,300 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

แก้

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองลำพูน อำเภอบ้านธิ และอำเภอแม่ทา[1]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สงวน พงษ์มณี (10)* 51,488 37.68
อนาคตใหม่ วิทวิสิทธิ์ ปันสวนปลูก (3) 41,321 30.24
พลังประชารัฐ ถวิล พรมเมืองยอง (23) 15,775 11.55
ประชาธิปัตย์ ขยัน วิพรหมชัย (13)✔ 12,117 8.87
เพื่อชาติ นิติธร บุตรดา (12) 3,238 2.37
เสรีรวมไทย สุวสันต์ จันทร์ตาธรรม (7) 2,614 1.91
เศรษฐกิจใหม่ จ่าสิบตำรวจ จินดาพล คำวรรณพร (16) 1,836 1.34
ประชาชาติ นเรศร์ แสงยาสมุทร (6) 1,291 0.94
ภูมิใจไทย สงวน วังธิยอง (1) 928 0.68
รวมพลังประชาชาติไทย ธุดลกัญจ์ คุณชมภู (11) 881 0.64
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ชุมพล มโนพรม (9) 738 0.54
ชาติพัฒนา โสภิศ อินทสโร (5) 585 0.43
พลังไทยรักไทย ชัชวาลย์ ทิศสว่าง (24) 482 0.35
พลังท้องถิ่นไท ณณรงค์ วงค์สถาน (4) 459 0.34
พลังปวงชนไทย ธนกฤต สายเครื่อง (15) 452 0.33
ชาติพันธุ์ไทย ไชยยันต์ ชุ่มสวัสดิ์ (17) 428 0.31
เพื่อแผ่นดิน มงคล ยอดเพชร (8) 283 0.21
ประชาภิวัฒน์ เสรี น้อยโต (2) 271 0.20
ครูไทยเพื่อประชาชน จำนง อุประโจง (21) 244 0.18
พลังชาติไทย สิบตรี อนุวัติ สิทธิสงคราม (22) 218 0.16
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย นพลกฤต พรหมโชติกาญ (20) 212 0.16
ประชานิยม รังสรรค์ ปาลี (19) 199 0.15
ไทยศรีวิไลย์ ลักษมี แสงมีสี (25) 165 0.12
ผึ้งหลวง เอก พรหมแสน (29) 153 0.11
ไทรักธรรม สำรวม เหล่าพราหมณ์ (27) 90 0.07
แทนคุณแผ่นดิน กรทักษ์ โพธิยอง (26) 64 0.05
ประชาชนปฏิรูป ทวีศักดิ์ คำเรือง (18) 56 0.04
ประชาธรรมไทย วีนัส ยศศิลป์ศักดิ์ (28) 45 0.03
พลังธรรมใหม่ ชาติชาย เมืองลือ (14)
ผลรวม 136,633 100.00
บัตรดี 136,633 94.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,370 1.63
บัตรเสีย 5,998 4.14
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 145,001 86.98
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 166,702 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 2

แก้

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอป่าซาง อำเภอเวียงหนองล่อง อำเภอบ้านโฮ่ง อำเภอทุ่งหัวช้าง และอำเภอลี้[1]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย รังสรรค์ มณีรัตน์ (5)* 51,197 38.02
พลังประชารัฐ ทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ (13)✔ 35,009 26.00
อนาคตใหม่ ประสิทธิ์ รัตนพรหม (12) 25,488 18.93
ประชาธิปัตย์ พลตรี จิตติวัศร์ ศรสุวรรณ (11) 7,792 5.79
ชาติไทยพัฒนา พุฑฒิพงษ์ ฤๅชัย (8) 1,721 1.28
เศรษฐกิจใหม่ ปิยภัทร พรมเศษ (18) 1,566 1.16
เสรีรวมไทย อุดม สมรภูมิบูรพา (10) 1,459 1.08
ประชาชาติ ชินชัย แก้วเรือน (14) 1,353 1.00
พลังท้องถิ่นไท คำ กันทาดง (9) 1,018 0.76
ประชาภิวัฒน์ สุลักษณ์ ปุ๊ดแค (4) 897 0.67
ภูมิใจไทย ณัฐวิน อัศวภูวดล (3) 805 0.60
เพื่อชาติ ทักษิณ เรือนแก้วเทวา (2) 724 0.54
พลังชาติไทย เบญจมาภรณ์ ภู่แก้ว (25) 686 0.51
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย อรทัย วงค์ฝั้น (1) 680 0.50
ผึ้งหลวง อิสยาภรณ์ ทองธนาคเณศร์ (31) 477 0.35
พลังปวงชนไทย ดาราวรรณ บุญชิต (6) 473 0.35
รวมพลังประชาชาติไทย สุทกร ศรีวิชัย (7) 444 0.33
ครูไทยเพื่อประชาชน ศักดิ์ ณ ลำพูน (23) 373 0.28
ประชาชนปฏิรูป ชลธิชา แสนพรหม (21) 262 0.19
ประชานิยม ปาณิสรารัชฌ์ วิเศษยิ่ง (24) 261 0.19
พลังไทยรักไทย เทพทัต โชควาณิชกุล (19) 247 0.18
พลังธรรมใหม่ กรณ์ดนัย สลีวงค์ (16) 238 0.18
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย บัวลำ ยะแบน (26) 216 0.16
ประชาไทย กฤศณา สุทธิกุล (28) 207 0.15
ยางพาราไทย ฐิติศักดิ์ แสงใส (15) 206 0.15
ชาติพันธุ์ไทย พัทธนันท์ ศรีนำทา (22) 206 0.15
แผ่นดินธรรม ธีรชัย พัฒนหทัย (20) 195 0.14
พลังประชาธิปไตย จักรพงษ์ กันเพชร (27) 189 0.14
เพื่อแผ่นดิน มนต์ชัย หล่อมีทรัพย์ (17) 117 0.09
ไทรักธรรม วารุณี จันทร์เป็ง (30) 88 0.07
แทนคุณแผ่นดิน วรนุช ศิลมีสัตย์ (29) 73 0.05
ผลรวม 134,667 100.00
บัตรดี 134,667 92.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,954 1.34
บัตรเสีย 9,080 6.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 145,701 87.70
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 166,136 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 101 ก. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้