จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน795,172
ผู้ใช้สิทธิ51.01%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ชวน หลีกภัย จำลอง ศรีเมือง บุญชู โรจนเสถียร
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังธรรม เอกภาพ
ที่นั่งก่อนหน้า 4 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 7 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
ผู้นำ มนตรี พงษ์พานิช เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อุทัย พิมพ์ใจชน
พรรค กิจสังคม ประชาชน (พ.ศ. 2531) ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1 3
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรินทร์ พิศสุวรรณ (5)* 58,544
พลังธรรม เดชา สามารถ (9) 55,884
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ ทองสมัคร (4)* 55,856
ประชาธิปัตย์ มาโนชญ์ วิชัยกุล (6)* 51,458
พลังธรรม คมสัน พงษ์สุธรรม (7) 51,058
พลังธรรม วิฑูรย์ ศรีเมือง (8) 45,898
ความหวังใหม่ ไมตรี จันทรา (10) 17,128
ท้องถิ่นก้าวหน้า น้อม เต็มรัตน์ (14) 13,024
ท้องถิ่นก้าวหน้า ปราโมทย์ มะหมัด (13) 12,827
ท้องถิ่นก้าวหน้า สมโรจน์ ชลสินธุ์ (15) 7,744
ความหวังใหม่ วิจิตร สุวรรณวงศ์ (11) 5,726
ความหวังใหม่ บัลลังก์ อนุภักดิ์ (12) 2,460
ประชากรไทย สุธรรม จันทร์แก้ว (3) 1,628
ประชากรไทย ไพบูลย์ ทองใหญ่ (1) 1,548
ประชากรไทย วรินทร์ แพวิเศษ (2) 1,063
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
พลังธรรม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, กิ่งอำเภอบางขัน และกิ่งอำเภออำเภอถ้ำพรรณรา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ คุณหญิง สุพัตรา มาศดิตถ์ (10)* 87,748
ประชาธิปัตย์ ชินวรณ์ บุณยเกียรติ (11) 74,333
ประชาธิปัตย์ ตรีพล เจาะจิตต์ (12) 69,483
พลังธรรม โกวิทย์ พวงงาม (4) 31,855
กิจสังคม นิยม คำแหง (13)* 29,797
พลังธรรม ทวีป ปรีชา (6) 24,563
พลังธรรม สมบูรณ์ เชาวนา (5) 23,023
รวมพลังใหม่ สุชา จุลเพชร (1) 15,800
ความหวังใหม่ พลเอก หาญ ลีนานนท์ (19)* 14,605
เอกภาพ อาคม สุวรรณนพ (7)✔ 8,058
ความหวังใหม่ วันชัย สุวรรณวิหค (20) 7,249
ความหวังใหม่ วิฑูรย์ กรุณา (21) 6,568
กิจสังคม เสนอ เจริญรูป (14) 4,561
เอกภาพ จุลภักดิ์ ไชยศร (9) 4,318
เอกภาพ วรชาติ ศรีเปารยะ (8) 3,007
กิจสังคม เจริญ เพ็ชรประพันธ์ (15) 2,943
รวมพลังใหม่ ประเสริฐ ใจดี (2) 2,497
รวมพลังใหม่ วินัย เลิศไกร (3) 1,771
ประชากรไทย จำนงค์ จิตตืสักคุณา (16) 655
ประชากรไทย สุทัศน์ ดรุณโยธิน (18) 524
ประชากรไทย บุญฤทธิ์ ศรีชัย (17) 465
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชาชน (พ.ศ. 2531)

เขตเลือกตั้งที่ 3

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ นุ่นทอง (1)✔ 48,746
เอกภาพ ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ (4)* 48,060
ประชาธิปัตย์ อภิชาต การิกาญจน์ (2) 43,228
ประชาธิปัตย์ บุญพรรณ สุทธิวิริวรรณ (3) 42,395
เอกภาพ วิทยา แก้วภราดัย (5)* 41,462
เอกภาพ สุธรรม แสงประทุม (6)* 39,270
พลังธรรม เชี่ยวศักดิ์ ยงค์ตระกูล (7) 16,247
พลังธรรม จองสิทธิ์ ศรีนุนวิเชียร (8) 14,670
พลังธรรม สุรชัย บุรีภักดี (9) 12,744
ความหวังใหม่ ธงชาติ รัตนวิชา (10)✔ 9,392
ชาติไทย อภัย หลวงชัยสินธุ์ (18) 5,238
ความหวังใหม่ สวงค์ ชูกลิ่น (11) 4,907
ความหวังใหม่ กมล สุวรรณสุโข (12) 4,320
ชาติไทย ชัยชนะ ดีเป็นแก้ว (16) 3,251
ชาติไทย จ่าสิบตำรวจ ฟื้น อำนักมณี (17) 1,593
ประชากรไทย ประยูรณ์ เดชะนะ (13) 785
ประชากรไทย โอภาส หนูทอง (15) 555
ประชากรไทย ประเสริฐ สิทธิศักดิ์ (14) 515
รวมพลังใหม่ นิรัตน์ ยศขุน (19) 369
รวมพลังใหม่ จรินทร์ ศรีสุข (20) 219
รวมพลังใหม่ ถาวร บุญถนอม (21) 164
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
เอกภาพ ได้ที่นั่งจาก ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535