คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

คณะรัฐมนตรีของประเทศไทย

คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของสยาม (ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2482 เรียกว่า คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย ตามรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ) (16 ธันวาคม 2481 - 7 มีนาคม 2485)

คณะรัฐมนตรีแปลก
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 แห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2485
วันแต่งตั้ง20 ธันวาคม​ 2481
วันสิ้นสุด7 มีนาคม​ 2485
(3 ปี 77 วัน)
บุคคลและองค์กร
ประมุขแห่งรัฐพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
หัวหน้ารัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ)
พรรคร่วมรัฐบาลคณะราษฎร
ประวัติ
การเลือกตั้ง12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3
วาระสภานิติบัญญัติ12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 – 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488
ก่อนหน้าคณะรัฐมนตรีสยาม คณะที่ 8
ถัดไปคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 (จากซ้ายแถวแรก) หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์, หลวงประดิษฐมนูธรรม, ที่ 3 เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ, ที่ 4 หลวงพิบูลสงคราม (นายกรัฐมนตรี), ที่ 5 หลวงอดุลเดชจรัส, ที่ 6 ตั้ว ลพานุกรม, (จากซ้ายแถวสอง) หลวงโกวิทอภัยวงศ์, (หลังหลวงพิบูลสงคราม) พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร, (ขวาสุดแถวสอง) ดิเรก ชัยนาม, (จากซ้ายที่ 3 แถวสาม) ประยูร ภมรมนตรี, (จากซ้ายที่ 3 แถวสี่) หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต, ที่ 4 หลวงพรหมโยธี

นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 16 ธันวาคม 2481

คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และนายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ

พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

รายชื่อคณะรัฐมนตรี แก้ไข

ในวันที่ 21 ธันวาคม 2481 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีดังนี้[1]

คณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 ของไทย
ตำแหน่ง รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
นายกรัฐมนตรี นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม
(แปลก ขีตตะสังคะ)
16 ธันวาคม 2481 7 มีนาคม 2485
กระทรวงกลาโหม   นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม
(แปลก ขีตตะสังคะ)
21 ธันวาคม 2481 19 สิงหาคม 2484
  นายพันเอก หลวงพรหมโยธี
(มังกร ผลโยธิน)
19 สิงหาคม 2484 15 ธันวาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมช. กลาโหม
  นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม
(แปลก ขีตตะสังคะ)
15 ธันวาคม 2484 7 มีนาคม 2485
  นายพันเอก หลวงพรหมโยธี
(มังกร ผลโยธิน)
13 เมษายน 2482 19 สิงหาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมว. กลาโหม
  นายพลตรี หลวงเสรีเริงฤทธิ์
(จรูญ รัตนกุล)
26 กันยายน 2484 7 มีนาคม 2485
  นายพันเอก หลวงพรหมโยธี
(มังกร ผลโยธิน)
15 ธันวาคม 2484 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
กระทรวงการคลัง   หลวงประดิษฐ์มนูธรรม
(ปรีดี พนมยงค์)
21 ธันวาคม 2481 17 ธันวาคม 2484 ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
  นายพลตรี เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ 17 ธันวาคม 2484 7 มีนาคม 2485
  หลวงนฤเบศร์มานิต
(สงวน จูทะเตมีย์)
13 เมษายน 2482 7 มีนาคม 2485
กระทรวงการต่างประเทศ   เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ
(จิตร์ ณ สงขลา)
21 ธันวาคม 2481 14 กรกฎาคม 2482 กราบถวายบังคมลาออก เนื่องจากสุขภาพไม่สมบูรณ์[2]
  นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม
(แปลก ขีตตะสังคะ)
14 กรกฎาคม 2482 22 สิงหาคม 2484
  นายดิเรก ชัยนาม 22 สิงหาคม 2484 15 ธันวาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมช. ต่างประเทศ[2]
  นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม
(แปลก ขีตตะสังคะ)
15 ธันวาคม 2484 7 มีนาคม 2485
  นายดิเรก ชัยนาม 14 กรกฎาคม 2482 22 สิงหาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมว. ต่างประเทศ
  หลวงวิจิตรวาทการ
(วิจิตร วิจิตรวาทการ)
31 ตุลาคม 2484 7 มีนาคม 2485
  นายดิเรก ชัยนาม 15 ธันวาคม 2484 5 มกราคม 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศญี่ปุ่น
กระทรวงเกษตราธิการ   นายนาวาอากาศเอก พระเวชยันต์รังสฤษฎ์
(มุนี มหาสันทนะ)
21 ธันวาคม 2481 20 สิงหาคม 2484
  หลวงเดชสหกรณ์
(หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์)
20 สิงหาคม 2484 1 กุมภาพันธ์ 2485 ย้ายไปเป็นรมช. เศรษฐกิจ
  นายอุทัย แสงมณี 1 กุมภาพันธ์ 2485 7 มีนาคม 2485
กระทรวงศึกษาธิการ
(กระทรวงธรรมการ)[3]
  นายนาวาเอก หลวงสินธุสงครามชัย
(สินธุ์ กมลนาวิน)
21 ธันวาคม 2481 16 กุมภาพันธ์ 2485 ย้ายไปเป็นรมว. เศรษฐกิจ
  นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม
(แปลก ขีตตะสังคะ)
16 กุมภาพันธ์ 2485 7 มีนาคม 2485
  หลวงโกวิทอภัยวงศ์
(ควง อภัยวงศ์)
21 ธันวาคม 2481 19 สิงหาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมว. คมนาคม
  นายพันโท ประยูร ภมรมนตรี 19 สิงหาคม 2484 7 มีนาคม 2485
กระทรวงมหาดไทย   นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม
(แปลก ขีตตะสังคะ)
21 ธันวาคม 2481 22 สิงหาคม 2484
  นายพันตรี หลวงเชวงศักดิ์สงคราม
(ช่วง ขวัญเชิด)
22 สิงหาคม 2484 7 มีนาคม 2485
  นายพันตำรวจเอก หลวงอดุลเดชจรัส
(มิ่ง พึ่งพระคุณ)
21 ธันวาคม 2481 7 มีนาคม 2485
  นายพันตรี หลวงเชวงศักดิ์สงคราม
(ช่วง ขวัญเชิด)
4 สิงหาคม 2482 22 สิงหาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมว. มหาดไทย
  ขุนสมาหารหิตะคดี
(โป๊ โปรคุปต์)
26 กันยายน 2484 7 มีนาคม 2485
  นายพลตรี พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต 13 มกราคม 2485 7 มีนาคม 2485
กระทรวงยุติธรรม   นาวาเอก หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์
(ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์)
21 ธันวาคม 2481 7 มีนาคม 2485
  หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี) 20 มีนาคม 2484 26 กันยายน 2484 ย้ายไปเป็นรมช. เศรษฐกิจ
กระทรวงเศรษฐกิจ
(กระทรวงเศรษฐการ)[4]
  นายพันเอก พระบริภัณฑ์ยุทธกิจ
(เภา เพียรเลิศ)
21 ธันวาคม 2481 16 กุมภาพันธ์ 2485
  พลเรือโท หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) 16 กุมภาพันธ์ 2485 7 มีนาคม 2485
  นายพันเอก หลวงเสรีเริงฤทธิ์
(จรูญ รัตนกุล)
6 กันยายน 2482 26 กันยายน 2484 ย้ายไปเป็นรมช. กลาโหม
  หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี) 26 กันยายน 2484 1 กุมภาพันธ์ 2485 ย้ายไปเป็นรมช. เกษตราธิการ
  หลวงเดชสหกรณ์
(หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์)
1 กุมภาพันธ์ 2485 7 มีนาคม 2485
กระทรวงคมนาคม   นายพันตรี หลวงโกวิทอภัยวงศ์
(ควง อภัยวงศ์)
19 สิงหาคม 2484 7 มีนาคม 2485
  นายพันตรี วิลาศ โอสถานนท์ 20 สิงหาคม 2484 17 ธันวาคม 2484
รัฐมนตรี   นายนาวาอากาศเอก หลวงกาจสงคราม
(เทียน เก่งระดมยิง)
21 ธันวาคม 2481 7 มีนาคม 2485
รัฐมนตรี   หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี) 21 ธันวาคม 2481 20 มีนาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมช. ยุติธรรม[5]
รัฐมนตรี   นายพันตรี หลวงเชวงศักดิ์สงคราม
(ช่วง ขวัญเชิด)
21 ธันวาคม 2481 4 สิงหาคม 2482 ย้ายไปเป็นรมช. มหาดไทย
รัฐมนตรี   นายดิเรก ชัยนาม 21 ธันวาคม 2481 14 กรกฎาคม 2482 ย้ายไปเป็นรมช. ต่างประเทศ
รัฐมนตรี   หลวงเดชสหกรณ์
(หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์)
21 ธันวาคม 2481 20 สิงหาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมว. เกษตราธิการ
รัฐมนตรี   จ่าสิบเอก ตั้ว ลพานุกรม 21 ธันวาคม 2481 27 สิงหาคม 2484 ถึงแก่อนิจกรรมในตำแหน่ง
รัฐมนตรี   หลวงนฤเบศร์มานิต
(สงวน จูทะเตมีย์)
21 ธันวาคม 2481 13 เมษายน 2482 ย้ายไปเป็นรมช. คลัง[6]
รัฐมนตรี   นายนาวาโท หลวงนาวาวิจิต
(ผัน อำไภวัลย์)
21 ธันวาคม 2481 7 มีนาคม 2485
รัฐมนตรี   นายพันโท ประยูร ภมรมนตรี 21 ธันวาคม 2481 19 สิงหาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมช. ศึกษาธิการ
รัฐมนตรี   นายพันเอก หลวงพรหมโยธี
(มังกร ผลโยธิน)
21 ธันวาคม 2481 13 เมษายน 2482 ย้ายไปเป็นรมช. กลาโหม
รัฐมนตรี   หลวงวิจิตรวาทการ
(วิจิตร วิจิตรวาทการ)
21 ธันวาคม 2481 31 ตุลาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมช. ต่างประเทศ
รัฐมนตรี   ขุนสมาหารหิตะคดี
(โป๊ โปรคุปต์)
21 ธันวาคม 2481 26 กันยายน 2484 ย้ายไปเป็นรมช. มหาดไทย
รัฐมนตรี   นายพันเอก หลวงสฤษฏิ์ยุทธศิลป์
(เพียร พิริยะโยธิน)
21 ธันวาคม 2481 7 มีนาคม 2485
รัฐมนตรี   นายนาวาโท หลวงสังวรยุทธกิจ
(สังวรณ์ สุวรรณชีพ)
21 ธันวาคม 2481 7 มีนาคม 2485
รัฐมนตรี   นายพันเอก หลวงเสรีเริงฤทธิ์
(จรูญ รัตนกุล)
21 ธันวาคม 2481 6 กันยายน 2482 ย้ายไปเป็นรมช. เศรษฐการ
รัฐมนตรี   นายวิลาศ โอสถานนท์ 4 สิงหาคม 2482 20 สิงหาคม 2484 ย้ายไปเป็นรมช. คมนาคม
รัฐมนตรี   นายพันเอก หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต
(ค้วน จินตะคุณ)
21 มีนาคม 2484 13 มกราคม 2485 ย้ายไปเป็นรมช. มหาดไทย
รัฐมนตรี   นายวนิช ปานะนนท์ 17 ธันวาคม 2484 7 มีนาคม 2485
รัฐมนตรี   นายทวี บุณยเกตุ 26 กุมภาพันธ์ 2485 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
รัฐมนตรี   นายพลอากาศตรี บุญเจียม โกมลมิตร์ 26 กุมภาพันธ์ 2485 7 มีนาคม 2485
รัฐมนตรี   พลตรี สวัสดิ์ สวัสดิ์รณรงค์ 26 กุมภาพันธ์ 2485 7 มีนาคม 2485

การแถลงนโยบายของรัฐบาล แก้ไข

คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2481 และได้รับความไว้วางใจในวันเดียวกัน

การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี แก้ไข

คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดเพราะเหตุที่นายกรัฐมนตรีและคณะได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเพื่อที่จะให้โอกาสได้มีการเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีเสียใหม่ให้เป็นการเหมาะสมแก่สถานการณ์ปัจจุบันเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2485

อ้างอิง แก้ไข

  1. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน 25 ราย)
  2. 2.0 2.1 พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม และนายดิเรก ชัยนาม)
  3. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ. ๒๔๘๔ เปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ
  4. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ. ๒๔๘๔ เปลี่ยนชื่อกระทรวงเศรษฐการเป็นกระทรวงเศรษฐกิจ
  5. พ้นจากตำแหน่งอธิบดีกรมที่ดินและโลหกิจด้วย
  6. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และกระทรวงการคลัง (นายพันเอก หลวงพรหมโยธี และหลวงนฤเบศร์มานิต)