รายการการคว่ำบาตรกีฬาโอลิมปิก

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

การคว่ำบาตรในกีฬาโอลิมปิก เป็นการแสดงออกทางการเมืองของคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของประเทศต่าง ๆ เพื่อประท้วงหรือต่อต้านประเทศเจ้าภาพหรือประเทศสมาชิกอื่น ๆ ด้วยการไม่เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกในครั้งนั้น ๆ การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกถือเป็นกิจกรรมที่มีการแข่งขันหลายกีฬาใหญ่ที่สุด มีการคว่ำบาตรอยู่ทั้งหมด 7 ครั้งของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน การคว่ำบาตรครั้งแรกเกิดขึ้นในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 และการคว่ำบาตรครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ประเทศโรดีเชียเป็นประเทศเดียวที่ไม่มีสิทธิ์ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน เกิดเหตุเมื่อการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติยกเลิกการให้ประเทศโรดีเชียเข้าร่วม เนื่องจากบางประเทศในกลุ่มแอฟริกันประท้วง

รายการการคว่ำบาตรทั้งหมด แก้

การแข่งขัน ปี ประเทศเจ้าภาพ เมืองเจ้าภาพ ประเทศที่คว่ำบาตร
รายชื่อ แผนที่
ฤดูร้อน 1936 1936   ไรช์เยอรมัน เบอร์ลิน
  1.   สเปน[a]
  2.   สหภาพโซเวียต[b]
 
ฤดูร้อน 1956 1956   ออสเตรเลีย เมลเบิร์น
  1.   อียิปต์
  2.   อิรัก
  3.   เลบานอน
  4.   เนเธอร์แลนด์
  5.   กัมพูชา
  6.   สเปน
  7.   สวิตเซอร์แลนด์
  8.   จีน
 
ฤดูร้อน 1964 1964   ญี่ปุ่น โตเกียว
  1.   เกาหลีเหนือ
  2.   อินโดนีเซีย
  3.   จีน
 
ฤดูร้อน 1976 1976   แคนาดา มอนทรีออล
  1.   แอลจีเรีย
  2.   เบนิน
  3.   พม่า
  4.   แคเมอรูน
  5.   สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
  6.   ชาด
  7.   สาธารณรัฐคองโก
  8.   อียิปต์
  9.   เอธิโอเปีย
  10.   กาบอง
  11.   แกมเบีย
  12.   กานา
  13.   กายอานา
  14.   อิรัก
  15.   เคนยา
  16.   ลิเบีย
  17.   เลโซโท
  18.   มาดากัสการ์
  19.   มาลาวี
  20.   มาลี
  21.   โมร็อกโก
  22.   ไนเจอร์
  23.   ไนจีเรีย
  24.   สาธารณรัฐจีน
  25.   โซมาเลีย
  26.   ศรีลังกา
  27.   ซูดาน
  28.   เอสวาตินี
  29.   แทนซาเนีย
  30.   โตโก
  31.   ตูนิเซีย
  32.   ยูกันดา
  33.   อัปเปอร์วอลตา
  34.   แซมเบีย
 
ฤดูร้อน 1980 1980   สหภาพโซเวียต มอสโก
  1.   แอลเบเนีย
  2.   แอนทีกาและบาร์บิวดา
  3.   อาร์เจนตินา
  4.   บาฮามาส
  5.   บาห์เรน
  6.   บังกลาเทศ
  7.   บาร์เบโดส
  8.   เบลีซ
  9.   เบอร์มิวดา
  10.   โบลิเวีย
  11.   แคนาดา
  12.   หมู่เกาะเคย์แมน
  13.   สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
  14.   ชาด
  15.   ชิลี
  16.   จีน
  17.   อียิปต์
  18.   เอลซัลวาดอร์
  19.   ฟีจี
  20.   กาบอง
  21.   แกมเบีย
  22.   กานา
  23.   เฮติ
  24.   ฮอนดูรัส
  25.   ฮ่องกง
  26.   อินโดนีเซีย
  27.   อิหร่าน
  28.   อิสราเอล
  29.   โกตดิวัวร์
  30.   ญี่ปุ่น
  31.   เคนยา
  32.   เกาหลีใต้
  33.   ไลบีเรีย
  34.   ลีชเทินชไตน์
  35.   มาลาวี
  36.   มาเลเซีย
  37.   มอริเตเนีย
  38.   โมนาโก
  39.   มอริเชียส
  40.   โมร็อกโก
  41.   เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส
  42.   ไนเจอร์
  43.   นอร์เวย์
  44.   ปากีสถาน
  45.   ปานามา
  46.   ปาปัวนิวกินี
  47.   ปารากวัย
  48.   ฟิลิปปินส์
  49.   กาตาร์
  50.   ซาอุดีอาระเบีย
  51.   สิงคโปร์
  52.   โซมาเลีย
  53.   ซูดาน
  54.   ซูรินาม
  55.   เอสวาตีนี
  56.   ไต้หวัน
  57.   ไทย
  58.   โตโก
  59.   ตูนิเซีย
  60.   ตุรกี
  61.   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
  62.   สหรัฐ
  63.   อุรุกวัย
  64.   หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
  65.   เยอรมนีตะวันตก
  66.   ซาอีร์
 
ฤดูร้อน 1984 1984   สหรัฐ ลอสแอนเจลิส
  1.   สหภาพโซเวียต
  2.   บัลแกเรีย
  3.   เยอรมนีตะวันออก
  4.   มองโกเลีย
  5.   เวียดนาม
  6.   ลาว
  7.   เชโกสโลวาเกีย
  8.   อัฟกานิสถาน
  9.   ฮังการี
  10.   โปแลนด์
  11.   คิวบา
  12.   เยเมนใต้
  13.   เกาหลีเหนือ
  14.   เอธิโอเปีย
  15.   แองโกลา
  16.   แอลเบเนีย
  17.   อิหร่าน
  18.   บูร์กินาฟาโซ
  19.   ลิเบีย
 
ฤดูร้อน 1988 1988   เกาหลีใต้ โซล
  1.   เอธิโอเปีย
  2.   นิการากัว
  3.   มาดากัสการ์
  4.   คิวบา
  5.   แอลเบเนีย
  6.   เกาหลีเหนือ
  7.   เซเชลส์
 

รายการการคว่ำบาตรบางส่วน แก้

การแข่งขัน ปี ประเทศเจ้าภาพ เมืองเจ้าภาพ ประเทศที่คว่ำบาตร
รายชื่อ แผนที่
ฤดูร้อน 2020 2020   ญี่ปุ่น โตเกียว
  1.   เกาหลีเหนือ[1]
ฤดูหนาว 2022 2022   จีน ปักกิ่ง
  1.   ลิทัวเนีย[2]
  2.   สหรัฐ[3]
  3.   ออสเตรเลีย[4]
  4.   สหราชอาณาจักร[5]
  5.   แคนาดา[6]
  6.   คอซอวอ[7]
  7.   เอสโตเนีย[8]
  8.   เบลเยียม[8]
  9.   เดนมาร์ก[9]
  10.   จีนไทเป[10]
  11.   อินเดีย[11]
 

หมายเหตุ แก้

  1. เนื่องจากสงครามภายในประเทศ
  2. สหภาพโซเวียตไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันจนถึงปี พ.ศ. 2495

อ้างอิง แก้

  1. "Tokyo Olympics: North Korea to skip Games over Covid-19 fears". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2021-04-06. สืบค้นเมื่อ 2022-07-17.
  2. "Lithuania confirms diplomatic boycott of Beijing 2022 Winter Olympics". ANI News. 3 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  3. CNN, Allie Malloy and Kate Sullivan. "White House announces US diplomatic boycott of 2022 Winter Olympics in Beijing". CNN. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  4. "Australia joins diplomatic boycott of Beijing Winter Olympics". ABC News (ภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย). 7 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  5. "UK 'effectively' plans a diplomatic boycott of Beijing Winter Olympics, joining the United States, Australia and Lithuania". chicagotribune.com. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  6. Tasker, John Paul (8 December 2021). "Trudeau announces diplomatic boycott of Beijing Olympics". CBC/Radio-Canada. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  7. "Kosovo boycotts Beijing Winter Olympics". Alsat News. 8 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
  8. 8.0 8.1 "Which Countries Are Boycotting China's Winter Olympics? Full List". Newsweek. 8 December 2021. สืบค้นเมื่อ 18 December 2021.
  9. "Denmark to join diplomatic boycott of Beijing Olympics over human rights". Reuters. 14 January 2022. สืบค้นเมื่อ 14 January 2022.
  10. "Taiwan to boycott Beijing Winter Olympics: source". taipeitimes.com. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 26 January 2022.
  11. IndiaToday, Geeta Mohan 3rd Feb'22. "Indian diplomats to boycott Beijing Winter Olympics after China makes Galwan PLA soldier torchbearer". IndiaToday. สืบค้นเมื่อ 3 February 2022.