รัฐในอารักขา
ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา[1] (อังกฤษ: protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง
เบลเยียม
แก้สหราชอาณาจักร
แก้ทวีปเอเชีย
แก้- ตะวันออกกลาง
- อาณานิคมเอเดน (1873–1967) - รู้จักกันในชื่อ สหพันธรัฐอาระเบียใต้ (1962–1967) ปัจจุบันคือ เยเมน
- รัฐสุลต่านอียิปต์ (1914–1922)
- อียิปต์และซูดานของบริเตน (1899–1956; ปกครองดินแดนร่วมกัน)
- ดินแดนตะวันออกกลางเปอร์เซียในอาณัติของบริเตน (1822–1971)
- บาห์เรน (1880–1971)
- คูเวต (1899–1961)
- กาตาร์ (1916–1971)
- รัฐทรูเชียล, ต่อมาเป็น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (1892–1971)
- บริติชโซมาลิแลนด์ (1887–1960)
- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ราชอาณาจักรซาราวัก (1888–1946)
- บริติชบอร์เนียวเหนือ (1888–1946)
- บรูไน (1888–1984)
- สหพันธรัฐมาลายา (1948–1957)
- สหพันธรัฐมลายู (1895–1946)
- รัฐนอกสหพันธรัฐ (1904/09-1946)
- เอเชียใต้
- รัฐมหาราชา (ถึง 1947)
- มัลดีฟส์ในอารักขา (1887–1965)
- สิกขิม (1910–1975)
- รัฐในพิทักษ์
- อัฟกานิสถาน (1879–1919)
- ภูฏาน (1910–1947)
- ราชอาณาจักรเนปาล (1815–1923)[2] (1815[3]-1923)[4]
ทวีปอเมริกา
แก้- บาร์เบโดส (ค.ศ.1627–1652)
- Mosquito Coast (ค.ศ.1655–1860)
ทวีปแอฟริกา
แก้- แอฟริกาตะวันออก
- บริษัทแอฟริกาตะวันออกของสหราชอาณาจักร
- ยูกันดาในอารักขา (ค.ศ. 1894–1962)
- เคนยา (อาณานิคมสหราชอาณาจักร) (ค.ศ. 1920–1963) - ในขณะนั้นใช้ชื่อว่า แอฟริกาตะวันออกในอารักขา
- ดินแดนแทนกันยีกา (แผ่นดินใหญ่ของแทนซาเนีย)
- สุลต่านแห่งแซนซิบาร์ (ดินแดนเกาะของแทนซาเนีย)
- บริติชมอริเชียส (ค.ศ. 1810–1968)
- แอฟริกาตะวันตก
- อาณานิคมและรัฐในอารักขาแกมเบีย (ค.ศ. 1894–1965)
- โกลด์โคสต์ (อาณานิคมสหราชอาณาจักร) (ค.ศ. 1902–1957)
- อาณานิคมและรัฐในอารักขาไนจีเรีย (ค.ศ. 1914–1960)
- ชายฝั่งไนเจอร์ในอารักขา (ค.ศ. 1884–1900)
- ไนจีเรียเหนือในอารักขา (ค.ศ. 1900–1914)
- ไนจีเรียใต้ในอารักขา (ค.ศ. 1900–1914)
- เซียร์ราลีโอน (ค.ศ.1896–1961)
- แอฟริกากลาง
- สหพันธรัฐโรดีเชียและไนแอซาแลนด์ (1953–1963)
- ไนแอซาแลนด์ (ค.ศ.1893–1964) - รู้จักกันในชื่อ แอฟริกากลางในอารักขา ระหว่าง ค.ศ. 1893–1907 ปัจจุบันคือ มาลาวี
- โรดีเซียเหนือ (ค.ศ.1924–1964) - ปัจจุบันคือ แซมเบีย
- โรดีเซียใต้ (ค.ศ. 1979–1980) - ปัจจุบันคือซิมบับเว
- แอฟริกาใต้
- บาซูโตแลนด์ (ค.ศ. 1884-1966) - ปัจจุบันคือ เลโซโท
- เบชวนนาแลนด์ (ค.ศ. 1884–1966)
- บารอทเซแลนด์ (ค.ศ. 1900-1964)
- สวาซิแลนด์ (ค.ศ. 1902–1968)
- เซาท์-เวสต์แอฟริกา (นามิเบีย)
- วอลวิสเบย์ในอารักขา (ค.ศ. 1878–1884)
ทวีปโอเซียเนีย
แก้- ดินแดนนิวกินี (ค.ศ. 1914–1965) - ปัจจุบันคือ ปาปัวนิวกินี
- หมู่เกาะโซโลมอนของอังกฤษ (ค.ศ. 1893–1978)
- หมู่เกาะคุก (ค.ศ. 1888–1901)
- หมู่เกาะกิลเบิร์ตและเอลลิส (ค.ศ. 1892–1916)
- นีอูเอ (ค.ศ. 1900–1901)
- โตเกเลา (ค.ศ. 1877–1916)
- ตองงา (ค.ศ. 1900–1970)
จีน
แก้- Khanate of Kokand (1774–1798)
- Gorkha Kingdom (1793–1816)
- ราชวงศ์เหงียน (1803–1885, ต่อมาได้ถูกฝรั่งเศสยึดไป)
- อาณาจักรริวกิว (1644–1879, ต่อมาได้ถูกญี่ปุ่นยึดไป)
- ทิเบต (1720-1911)
เนเธอร์แลนด์
แก้- อารูบา, กือราเซา, ซินต์มาร์เติน (ในปัจจุบันทั้งหมดเป็นประเทศองค์ประกอบ, ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส)
- บรรดารัฐสุลต่านในหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ (อินโดนีเซียปัจจุบัน)
ฝรั่งเศส
แก้- อินโดจีนของฝรั่งเศส
- แคว้นซาร์ (1947–1956)
- คอโมโรส
- จิบูตี
- มอริเตเนีย
- โมร็อกโก - ดินแดนส่วนใหญ่ของรัฐสุลต่านอยู่ภายใต้การปกครองของโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส (30 มีนาคม 1912 - 2 มีนาคม 1956)
- ดินแดนตอนเหนือของโมร็อกโก อยู่ภายใต้การปกครองของโมร็อกโกในอารักขาของสเปน ในช่วงเวลาเดียวกัน
- รัฐ มาดากัสการ์ ดั้งเดิม
- ตูนิเซีย
- เบนิน
- ดานโฮเม โดยการอารักขาของฝรั่งเศส,จากปี 1889
- ปอร์โต-โนโวในอารักขาของฝรั่งเศส, 23 กุมภาพันธ์ 1863 - 2 มกราคม 1865. โคโตนูในอารักขาของฝรั่งเศส, 19 พฤษภาคม 1868. ปอร์โต-โนโว ในอารักขาของฝรั่งเศส, 14 เมษายน 1882.
- สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
- รัฐในอารักขาของฝรั่งเศสเหนือDar al-Kuti (1912 Sultanate suppressed by the French), 12 December 1897
- รัฐในอารักขาของฝรั่งเศสเหนือรัฐสุลต่านBangassou, 1894
- บูร์กินาฟาโซ
- ชาด
- กินี
- ไนเจอร์
- เซเนกัล
- เฟรนช์โปลินีเซีย
- หมู่เกาะวาลิสและหมู่เกาะฟูตูนา
เยอรมนี
แก้- เยอรมันนิวกินี
- หมู่เกาะมาร์แชลล์
- นาอูรู
- ส่วนเหนือของหมู่เกาะโซโลมอน
- เยอรมันซามัว (ชื่อเดิมของซามัวตะวันตก)
- รัฐสุลต่านวิตู, ในเคนยา
- แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมนี (ต่อมาคือ นามิเบีย)
- โตโกแลนด์
- รวันดา
- อูรุนดี
อิตาลี
แก้- แอลเบเนีย (1917-1920, 1939-1940)
- รัฐเอกราชโครเอเชีย (1941–1943)
- โมนาโก อยู่ภายใต้การอารักขาของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย ตั้งแต่ 20 พ.ย. 1815 ถึง 1860
- จักรวรรดิเอธิโอเปีย: (1889-1896)
- ลิเบีย: (1912-1919)
ญี่ปุ่น
แก้- เกาหลี (1905–1910)
- อินโดจีน (1940-1945)
- ฟิลิปปินส์ (1941-1945)
- อินโดนีเซีย (1942-1945)
โปรตุเกส
แก้- ราชอาณาจักรคองโก (1390-1914)
- Cabinda (Portuguese Congo) (1885–1974)
- จักรวรรดิกาซา (1824-1895)
- Angoche Sultanate (1903-1910)
รัสเซีย
แก้- Regulamentul Organic (1834–1858)
- เอมิเรตบูคารา (1873–1920)
- รัฐข่านคีวา (1873–1920)
- เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย (1768–1789, 1792–1795)
สหรัฐอเมริกา
แก้- คิวบา (1902-1904)
- ปานามา (1903-1979)
- ฮอนดูรัส (1903-1925)
- นิการากัว (1912-1933)
- สาธารณรัฐโดมินิกัน (1914-1924)
- รัฐสุลต่านซูลู (1903-1915)
- เครือจักรภพฟิลิปปินส์
สหประชาชาติ
แก้- แคว้นปาปัวตะวันตก (ขณะนั้นเรียกว่านิวกินีตะวันตกหรืออีเรียนตะวันตก), United Nations Temporary Executive Authority, 1962-1963.
- กัมพูชา, องค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา, 1992-1993.
- Eastern Croatia, United Nations Transitional Authority for Eastern Slavonia, Baranja and Western Sirmium, 1996-1998.
- ติมอร์ตะวันออก, องค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก, 1999-2002.
- คอซอวอ, องค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในคอซอวอ สิ้นสุดเมื่อ ค.ศ. 1999.
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "ศัพท์นิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2012-02-09.
- ↑ Nepal is indicated as a native state ('princely state') on an official map published by British India
- ↑ http://www.britannica.com/EBchecked/topic/285248/India/47023/The-completion-of-dominion-and-expansion
- ↑ http://www.historyorb.com/countries/nepal