ไทยลีก ฤดูกาล 2563–64

ไทยลีก ฤดูกาล 2563–64 หรือ โตโยต้า ไทยลีก ฤดูกาล 2563–64 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ โตโยต้า เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกฤดูกาลที่ 24 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย โดยมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 16 สโมสร และฤดูกาลนี้จะเป็นฤดูกาลที่เริ่มใช้วีเออาร์แบบเต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการ

ไทยลีก
ฤดูกาล2563–64
วันที่14 กุมภาพันธ์ 2563 – 28 มีนาคม 2564
ทีมชนะเลิศบีจี ปทุม ยูไนเต็ด ชนะเลิศไทยลีกครั้งแรก
ชนะเลิศลีกสูงสุดครั้งแรก
ตกชั้นสุโขทัย
ตราด
ระยอง
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (รอบแบ่งกลุ่ม)
การท่าเรือ (รอบแบ่งกลุ่ม)
ราชบุรี มิตรผล (รอบแบ่งกลุ่ม)
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด (รอบเพลย์ออฟ)
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (รอบแบ่งกลุ่ม)
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด (ชนะเลิศ เอฟเอคัพ) (รอบแบ่งกลุ่ม)
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (รอบเพลย์ออฟ)
การท่าเรือ (รอบเพลย์ออฟ)
จำนวนนัด231
จำนวนประตู682 (2.95 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบาร์รอส ทาร์เดลี
(24 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
สุพรรณบุรี 5–0 โปลิศ เทโร
(30 ตุลาคม 2563)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
สมุทรปราการ ซิตี้ 0–6 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
(28 กุมภาพันธ์ 2564)
จำนวนประตูสูงสุดทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด 4–5 สุโขทัย
(18 ตุลาคม 2563)
ระยอง 2–7 การท่าเรือ
(18 ตุลาคม 2563)
สมุทรปราการ ซิตี้ 6–3 การท่าเรือ
(27 ธันวาคม 2563)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
11 นัด
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
29 นัด
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
12 นัด
ระยอง
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
9 นัด
ระยอง
จำนวนผู้ชมสูงสุด15,590 คน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 4–0 ชลบุรี
(22 กุมภาพันธ์ 2563)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม509,764 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย3,166 คน
2562
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 28 มีนาคม 2564

สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด เป็นแชมป์เก่าที่ต้องแข่งขันเพื่อป้องกันแชมป์ในปีนี้ โดยที่มี บีจี ปทุม ยูไนเต็ด, โปลิศ เทโร และ ระยอง เป็น 3 สโมสรที่ได้เลื่อนชั้นจากไทยลีก 2 ขึ้นมาเล่นในไทยลีกฤดูกาลนี้

หลังจบการแข่งขันที่บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ชนะ สุโขทัย 2-0 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2564 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด มีคะแนนห่างจากอันดับสอง ณ ขณะนั้นอย่างบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดถึง 19 คะแนน จึงทำให้บีจี ปทุม ยูไนเต็ดเป็นผู้ชนะเลิศการแข่งขันไทยลีก ฤดูกาล 2563–64 ทั้งที่ยังเหลือการแข่งขันอีก 6 นัด นับเป็นการชนะเลิศครั้งแรกของสโมสรและเร็วที่สุดในประวัติศาสตร์ฟุตบอลไทย[1] นอกจากนี้ยังเป็นสโมสรฟุตบอลทีมแรกของไทยที่เคยตกชั้น แล้วกลับมาชนะเลิศลีกสูงสุดได้สำเร็จอีกด้วย[2]

กำหนดการ

แก้

การแข่งขันไทยลีก ฤดูกาล 2563 ได้เริ่มขึ้นนัดแรกในวันศุกร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 และหลังจากนั้นการแข่งขันได้ดำเนินต่อไปจนจบนัดที่ 4 ของการแข่งขัน ก่อนที่ในวันที่ 1 มีนาคม สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้ออกประกาศให้การแข่งขันไทยลีกทั้งหมดในเดือนมีนาคม ต้องแข่งชันแบบไม่ให้แฟนบอลทั่วไปเข้าชมอันเนื่องมาจาก การแพร่ระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา 2019[3] ก่อนที่ 4 วันหลังจากนั้นจึงได้มีคำสั่งเปลี่ยนแปลงโดยการเลื่อนการแข่งขันออกไป 2 ครั้ง[4][5] ก่อนที่สมาคมฯ ได้มีมติปรับโครงสร้างลีกโดยการเลื่อนการแข่งขันไทยลีกจากเดิมที่จะเริ่มต้นในเดือนกุมภาพันธ์ และจบลงในเดือนตุลาคม เป็น เริ่มต้นการแข่งขันในเดือนกันยายน และจบลงในเดือนพฤษภาคมในทุก ๆ ปี ต่อจากนี้ เฉกเช่นเดียวกับปฏิทินฟุตบอลยุโรป ซึ่งสมาคมฯ ให้เหตุผลว่าเพื่อเป็นการหนีฝนซึ่งส่งผลกระทบต่อการเดินทางมาสนามของแฟนบอล ซึ่งจะเริ่มในฤดูกาล 2563 เป็นฤดูกาลแรก ซึ่งในฤดูกาล 2563 นี้เท่านั้น จะให้สิทธิ์การแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 แก่ทีม 4 อันดับแรกบนตารางคะแนนไทยลีกหลังจากจบครึ่งแรกของฤดูกาล (15 นัด) และให้สิทธิ์ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 แก่ทีม 3 ลำดับแรกในตารางคะแนนไทยลีกหลังจบฤดูกาลและแชมป์ ช้าง เอฟเอคัพ โดยการแข่งขันจะเริ่มต้นเป็นนัดที่ 5 ในเดือนกันยายน และยังคงผลการแข่งขันใน 4 นัดแรกไว้เหมือนเดิม[6]

ตลาดซื้อ-ขายนักเตะ

แก้

ในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2563 สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) ได้ทำการอนุมัติให้ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ เปิดตลาดซื้อขายนักกีฬาฟุตบอลได้อีก 2 รอบ เป็นกรณีพิเศษ เนื่องจากผลกระทบของโควิด-19 โดยจะเปิดระหว่างวันที่ 25 สิงหาคม – 7 กันยายน 2563 และ วันที่ 28 ธันวาคม 2563 – 10 มกราคม 2564 ตามลำดับ ซึ่งเป็นชาติแรกในโลก ที่จะเปิดตลาดซื้อขายรวมกัน 3 ครั้งภายในฤดูกาลเดียว หลังจากที่มีการเปิดไปรอบแรกเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2562 – 10 กุมภาพันธ์ 2563 แต่สามารถลงเล่นได้กับสโมสรต้นสังกัดได้มากที่สุด 2 สโมสร ภายใน 1 ฤดูกาลอยู่เช่นเดิม

สโมสร

แก้

ทั้งหมด 16 สโมสรที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลนี้ โดยแบ่งเป็น 13 สโมสร จากไทยลีก ฤดูกาล 2562 และ 3 สโมสรอันดับแรกจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2562 ได้แก่ บีจี ปทุม ยูไนเต็ด และ โปลิศ เทโร ซึ่งได้กลับมาเล่นในไทยลีกอีกครั้งหลังจากตกชั้นไปในฤดูกาล 2561[7] และ ระยอง ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยลีกเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสร

ตกชั้นสู่ไทยลีก 2

แก้

อย่างไรก็ตาม หลังจากพีทีที ระยอง ไม่ส่งทีมเข้าแข่งขันในฤดูกาล 2563–64 สมาคมฟุตบอลฯ มีมติให้คงจำนวนทีมในไทยลีกเป็น 16 ทีมตามเดิม ทำให้สุพรรณบุรีที่จบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 14 ยังคงได้แข่งขันในไทยลีกต่อไป[8]

เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก

แก้

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

แก้
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2562
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) แพตสเตเดียม 8,000 3
ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรีสเตเดียม 8,600 7
ตราด ตราด สนามกีฬากลางจังหวัดตราด 5,000 10
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี (คลองหลวง) สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต 19,375 4
นครราชสีมา มาสด้า นครราชสีมา สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 25,000 13
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ปทุมธานี (ธัญบุรี) ลีโอสเตเดียม 9,000 1 (ไทยลีก 2)
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ช้างอารีนา 32,600 2
โปลิศ เทโร กรุงเทพมหานคร (หลักสี่) สนามบุณยะจินดา 3,500 2 (ไทยลีก 2)
พีที ประจวบ ประจวบคีรีขันธ์ สามอ่าวสเตเดียม 5,000 9
ระยอง ระยอง ระยองสเตเดียม 7,500 3 (ไทยลีก 2)
ราชบุรี มิตรผล ราชบุรี มิตรผลสเตเดียม 10,000 8
สมุทรปราการ ซิตี้ สมุทรปราการ (บางพลี) สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย บางพลี 5,100 6
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย สิงห์ สเตเดียม 13,000 1
สุโขทัย สุโขทัย ทะเลหลวงสเตเดียม 8,000 12
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสุพรรณบุรี 15,279 14
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี (ปากเกร็ด) เอสซีจีสเตเดียม 13,000 5

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน

แก้
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
การท่าเรือ   สระราวุฒิ ตรีพันธ์   ศิวกร จักขุประสาท[a] แกรนด์สปอร์ต เมืองไทยประกันภัย, ลีโอ, แอร์เอเชีย, ซื่อสัตย์1, ซิสเท็มมา1, สมุนไพรวังพรม1, เมืองไทยประกันชีวิต2, ทีคิวเอ็ม อินชัวรันส์ โบรกเกอร์2
ชลบุรี   สะสม พบประเสริฐ   เกริกฤทธิ์ ทวีกาญจน์ ไนกี้ ช้าง, ไดกิน1, แอร์เอเชีย2, เอไอเอ2
ตราด   พยงค์ ขุนเณร   พรปรีชา จารุนัย แกรนด์สปอร์ต ซีพี, บางกอกแอร์เวย์1
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด   ธชตวัน ศรีปาน   แอนโธนี อำไพพิทักษ์วงศ์ อาริ ทรู, หัวเว่ย, ไดกิน1, ซีพี2
นครราชสีมา มาสด้า   ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น   เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว แกรนด์สปอร์ต มาสด้า, จีเอสแบตเตอรี1, ซีพี2, ลีโอ2
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด   ดุสิต เฉลิมแสน   สุรชาติ สารีพิมพ์ ไนกี้ ลีโอ, ยูเมะพลัส, เรพาริล, ยูโร่เค้ก
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด   อาเลชังดรี กามา   นฤบดินทร์ วีรวัฒโนดม ช้าง, ยามาฮ่า, ทรู, แกร็บ, โคคา-โคล่า1, แรบบิท1, ซีพี2, เมืองไทยประกันชีวิต2, สปอนเซอร์2, เงินติดล้อ2, แอร์เอเชีย3
โปลิศ เทโร   รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค   อดิศักดิ์ ศรีกำปัง เอฟบีที เบียร์ช้าง, ซีพี, แอร์เอเชีย, บีอีซี-เทโร, ไทยยูเนี่ยน
พีที ประจวบ   ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล   อดุลย์ หมื่นสมาน วอริกซ์ พีที, ลีโอ2, ทิปโก้2, เบ็นดิกซ์2
ระยอง   มาซามิ ทากิ   อนุชิต เงินบุคคล โวลต์ กัลฟ์, ลีโอ, ธนาคารไทยพาณิชย์2
ราชบุรี มิตรผล   สมชาย ไม้วิลัย   ฟิลิป โรลเลอร์ มิตรผล, ช้าง, ยูโร่เค้ก, คูโบต้า, หนองโพ1, บ้านปู1, เอไอเอ2
สมุทรปราการ ซิตี้   มาซาตาดะ อิชิอิ   พีรดนย์ ฉ่ำรัศมี อาริ ซันวา, กุ๊ก1, แอร์เอเชีย2
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด   เอเมอร์สัน ปาไรร่า (รักษาการ)   พิธิวัต สุขจิตธรรมกุล ลีโอ,ไทยเวียดเจ็ท,ทีโอเอ,บีฮีโร่,สิงห์ปาร์ค1,บีกริม1,โตโยต้าเชียงราย2,

บีจีเอฟ2,เมืองไทยประกันชีวิต2

สุโขทัย   สุรพงษ์ คงเทพ   จอห์น บักจีโอ มาวิน ช้าง, ซีพี, คาราบาวแดง2, Zand Morada Pattaya2, SC Group2
สุพรรณบุรี   อเดบาโย กาเดโบ   สุพรรณ ทองสงค์ วอริกซ์ ช้าง, ทรู, บีเอ็นเอช1, โออิชิ2
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด   มารีโอ ยูโรฟสกี   วัฒนา พลายนุ่ม ซู๊ต เอสซีจี, ยามาฮ่า, โคคา-โคล่า1, ลีโอ2
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง
  1. เนื่องจากดาบิด โรเชลา กัปตันทีม ไม่ได้ลงทะเบียนเป็นผู้เล่นในการแข่งขันไทยลีก[9]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

แก้
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
สุโขทัย   ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก หมดสัญญา ตุลาคม 2562 ก่อนเริ่มฤดูกาล   สุรพงษ์ คงเทพ 18 พฤศจิกายน 2562
นครราชสีมา มาสด้า   เฉลิมวุฒิ สง่าพล ตุลาคม 2562   ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น 18 พฤศจิกายน 2562
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด   ไอล์ตง ซิลวา 12 พฤศจิกายน 2562   มาซามิ ทากิ 11 ธันวาคม 2562
สมุทรปราการ ซิตี้   เท็ตสึยะ มูรายามะ 23 ธันวาคม 2562   มาซาตาดะ อิชิอิ 23 ธันวาคม 2562
ระยอง   ชูศักดิ์ ศรีภูมิ ลาออก 28 กุมภาพันธ์ 2563 อันดับที่ 15   อาร์ตูร์ แบร์นาร์เดส 13 มีนาคม 2563[10]
การท่าเรือ   โชคทวี พรหมรัตน์ แยกทาง 28 มีนาคม 2563[11] อันดับที่ 3   จเด็จ มีลาภ 28 มีนาคม 2563
การท่าเรือ   จเด็จ มีลาภ ปรับโครงสร้าง 21 กันยายน 2563 อันดับที่ 7   สระราวุฒิ ตรีพันธ์ 21 กันยายน 2563
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด   อาเลชังดรี กามา ลาออก 17 ตุลาคม 2563 อันดับที่ 11   มารีโอ ยูโรฟสกี 19 ตุลาคม 2563
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด   อาเลชังดรี ปอลกิง 18 ตุลาคม 2563 อันดับที่ 7   แดนนี อินวินซิบิเล (รักษาการ) 18 ตุลาคม 2563
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด   โบซีดาร์ บันโดวิช 19 ตุลาคม 2563 อันดับที่ 10   อาเลชังดรี กามา 22 ตุลาคม 2563
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด   มาซามิ ทากิ หมดสัญญา 31 ตุลาคม 2563 อันดับที่ 3   เอเมอร์สัน ปาไรร่า (รักษาการ) 3 พฤศจิกายน 2563
ระยอง   อาร์ตูร์ แบร์นาร์เดส อันดับที่ 16   มาซามิ ทากิ 12 พฤศจิกายน 2563
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด   แดนนี อินวินซิบิเล สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 5 พฤศจิกายน 2563 อันดับที่ 9   ธชตวัน ศรีปาน 5 พฤศจิกายน 2563
ราชบุรี มิตรผล   สมชาย ไม้วิลัย ปรับโครงสร้าง 19 พฤศจิกายน 2563 อันดับที่ 4   มีลอช ยอกซิช 19 พฤศจิกายน 2563[12]
ราชบุรี มิตรผล   มีลอช ยอกซิช ลาออก 25 ธันวาคม 2563 อันดับที่ 4   สมชาย ไม้วิลัย 25 ธันวาคม 2563

ตารางคะแนน

แก้

อันดับ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (C, Q) 30 24 5 1 54 13 +41 77 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแบ่งกลุ่ม[a]
2 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (Q) 30 20 3 7 63 26 +37 63 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบคัดเลือกรอบที่ 2
3 การท่าเรือ (Q) 30 17 5 8 58 36 +22 56
4 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด (Q) 30 16 6 8 48 32 +16 54 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแบ่งกลุ่ม[a]
5 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 30 15 6 9 57 39 +18 51
6 สมุทรปราการ ซิตี้ 30 14 5 11 58 51 +7 47[b]
7 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 30 14 5 11 52 43 +9 47[b]
8 ราชบุรี มิตรผล 30 13 7 10 48 41 +7 46
9 นครราชสีมา มาสด้า 30 11 9 10 40 41 −1 42
10 พีที ประจวบ 30 10 7 13 35 47 −12 37
11 โปลิศ เทโร 30 10 6 14 32 50 −18 36
12 ชลบุรี 30 9 5 16 30 46 −16 32
13 สุพรรณบุรี 30 9 3 18 33 47 −14 30
14 สุโขทัย (R) 30 8 4 18 40 57 −17 28 ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2564–65
15 ตราด (R) 30 4 5 21 31 64 −33 17
16 ระยอง (R) 30 4 3 23 24 69 −45 15
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 28 มีนาคม 2564. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. คะแนนแฟร์เพลย์ 6. เพลย์ออฟไม่ต่อเวลาพิเศษ ดวลจุดโทษทันทีถ้าเสมอ[13]
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 เชียงราย ยูไนเต็ด ได้เข้าแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแบ่งกลุ่ม ในฐานะทีมที่ชนะเลิศ ช้าง เอฟเอคัพ 2563–64
  2. 2.0 2.1 สมุทรปราการ ซิตี้ มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด: เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 0–0 สมุทรปราการ ซิตี้, สมุทรปราการ ซิตี้ 4–2 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด


อันดับเพื่อคัดเลือกไปเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021

แก้

4 อันดับแรกบนตารางคะแนนไทยลีกหลังจากจบครึ่งแรกของฤดูกาล (15 นัด) จะได้สิทธิ์ไปแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (Q) 15 13 2 0 30 8 +22 41 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 รอบแบ่งกลุ่ม
2 การท่าเรือ (Q) 14 11 1 2 35 13 +22 34
3 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด (Q) 14 8 2 4 22 13 +9 26 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 รอบคัดเลือกรอบที่ 2
4 ราชบุรี มิตรผล (Q) 15 8 2 5 28 24 +4 26
5 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 15 7 2 6 27 19 +8 23
6 สมุทรปราการ ซิตี้ 15 6 4 5 27 21 +6 22
7 ชลบุรี 15 7 1 7 18 24 −6 22
8 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 15 6 3 6 22 19 +3 21
9 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 15 6 2 7 23 22 +1 20
10 สุโขทัย 15 6 2 7 25 27 −2 20
11 โปลิศ เทโร 15 5 4 6 15 24 −9 19
12 สุพรรณบุรี 15 5 2 8 17 22 −5 17
13 นครราชสีมา มาสด้า 15 4 4 7 22 30 −8 16
14 พีที ประจวบ 15 3 5 7 18 24 −6 14
15 ระยอง 15 3 1 11 11 32 −21 10
16 ตราด 15 2 1 12 18 36 −18 7
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2563. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. คะแนนแฟร์เพลย์ 6. เพลย์ออฟไม่ต่อเวลาพิเศษ ดวลจุดโทษทันทีถ้าเสมอ[14]
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.


อันดับตามสัปดาห์

แก้

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ทีม / สัปดาห์123456789101112131415161718192021222324252627282930
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด554452111111111111111111111111
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด11691111121291011128855433333222222222
การท่าเรือ111347485423222222222333333333
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด81071096342232433544566766755444
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด223111227696569988887655644555
สมุทรปราการ ซิตี้913141412111112121211121186677774577588766
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด101410710109101110899118766455444467887
ราชบุรี มิตรผล442223553344344355648888876678
นครราชสีมา มาสด้า1681212131414141313141414141311999999991099999
พีที ประจวบ131213131413131314151313131314141414141113121212121111101010
โปลิศ เทโร636534768810111291112121110101110101091010111111
ชลบุรี395989836757710781012121310111111111212121212
สุพรรณบุรี12118668101199610101212131313131414141414141414141413
สุโขทัย77118756745756710101110111212131313131313131314
ตราด151616161616161515141515151516151515151515151515151515151515
ระยอง141515151515151616161616161615161616161616161616161616161616
ผู้นำในสัปดาห์และได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแบ่งกลุ่ม
รองชนะเลิศและได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบคัดเลือกรอบที่ 3
ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบคัดเลือกรอบที่ 2
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2564–65
อ้างอิง: ไทยลีก (T1)

ผลการแข่งขัน

แก้
เหย้า / เยือน BKU BGP BRU CRU CBR MTU NRM PTR POR PTP RBM RAY SPC SUK SPB TRA
ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด 0–2 1–2 4–1 5–1 2–2 2–3 1–1 0–1 2–0 2–1 4–1 3–0 4–5 2–1 5–0
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 1–1 1–0 0–0 2–1 2–1 1–0 3–0 2–1 2–0 2–0 2–1 2–2 2–0 4–0 2–1
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–0 0–1 1–0 4–0 2–3 1–2 2–0 1–1 4–0 3–0 5–1 1–3 3–0 1–0 2–0
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 1–1 0–1 0–1 4–3 2–1 1–1 2–0 2–1 1–0 2–1 3–2 2–1 3–1 2–2 3–0
ชลบุรี 1–0 0–1 0–2 0–3 1–2 3–1 1–0 0–2 0–1 3–2 2–0 0–2 0–0 4–1 3–2
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 1–2 1–0 2–2 2–3 1–0 1–1 1–2 2–1 3–3 2–1 4–0 0–0 3–0 3–1 0–1
นครราชสีมา มาสด้า 1–1 0–2 0–3 0–4 2–0 4–1 4–0 2–2 1–2 1–0 2–0 0–0 3–3 1–0 2–0
โปลิศ เทโร 1–2 0–2 1–0 0–1 1–2 1–3 0–0 2–0 1–1 1–1 1–0 1–0 2–0 3–1 0–1
การท่าเรือ 2–2 0–1 1–2 0–1 2–1 2–0 4–1 0–2[a] 2–1 3–1 3–1 4–1 1–0 4–0 0–0
พีที ประจวบ 0–1 0–0 0–1 1–0 1–0 1–0 1–0 2–2 1–3 1–1 1–1 0–3 2–3 2–1 4–2
ราชบุรี มิตรผล 2–1 1–4 4–3 1–1 0–0 1–3 1–0 4–0 0–0 2–2 3–0 3–1 3–1 1–0 2–0
ระยอง 1–0 0–1 0–5 0–2 1–1 0–3 1–2 6–1 2–7 1–3 0–3 0–1 2–1 0–1 2–1
สมุทรปราการ ซิตี้ 1–2 0–6 1–2 1–1 4–1 4–2 2–2 3–5 6–3 4–0 1–3 1–0 3–2 1–2 3–1
สุโขทัย 0–1 2–3 0–3 2–0 1–2 1–0 0–0 1–1 1–2 4–3 1–2 5–1 2–3 1–0 2–4
สุพรรณบุรี 2–3 1–1 2–3 2–1 0–0 1–2 2–0 5–0 0–2 1–0 1–2 1–0 1–2 1–0 1–2
ตราด 2–3 0–1 2–2 1–3 0–0 2–3 3–4 1–3 2–3 1–2 2–2 0–0 0–4 0–1 0–2
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 28 มีนาคม 2564. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ
Notes:
  1. การท่าเรือถูกตัดสินปรับแพ้โปลิศ เทโร 0–2 เนื่องจากไม่สามารถซ่อมแซมไฟสนามที่ขัดข้องได้ทันตามกำหนด[15]

สถิติ

แก้

ผู้ทำประตูสูงสุด

แก้
ณ วันที่ 28 มีนาคม 2564[16]
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1   บาร์รอส ทาร์เดลี สมุทรปราการ ซิตี้ 25
2   เดนนิส มูริลลู นครราชสีมา มาสด้า 21
3   บิล สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 18
4   เอเบร์ชี การท่าเรือ (7 ประตู)
ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด (9 ประตู)
16
  วิลเลี่ยน โมต้า พีที ประจวบ
  จอห์น บักจีโอ สุโขทัย
7   วิกตูร์ การ์ดูซู บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 15
9   เซร์ฆิโอ ซัวเรซ การท่าเรือ 14
  ฟิลิป โรลเลอร์ ราชบุรี มิตรผล
10   ซาร์ดอร์ มีร์ซาเยฟ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 13
  ไคอง ชลบุรี (6 ประตู)
สุพรรณบุรี (7 ประตู)


ผู้ผ่านบอลสูงสุด

แก้
ณ วันที่ 28 มีนาคม 2564[17]
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ผ่านบอล
1   เจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์ สมุทรปราการ ซิตี้ 14
2   วังเดร์ ลูอีส ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด 13
3   ซเตว็อง ล็องกี ราชบุรี มิตรผล 11
4   จักรพันธ์ แก้วพรม บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 10
5   รัตนากร ใหม่คามิ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 8
6   อิบซง แมลู สุโขทัย 7
  จอห์น บักจีโอ สุโขทัย
8   ทริสตอง โด ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด 6
  สุมัญญา ปุริสาย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
  วัฒนากรณ์ สวัสดิ์ละคร เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
  ซาร์ดอร์ มีร์ซาเยฟ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
  วิลเลี่ยน โมต้า พีที ประจวบ
  เทพพิทักษ์ พูลจวง ระยอง
  ลีอังดรู อัสซัมเซา สุพรรณบุรี
  รีการ์ดู ซังตุส ตราด

แฮตทริก

แก้
ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่ นัดที่
  โรซีมาร์ อามังซียู สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด นครราชสีมา มาสด้า 0–4 (A) 20 กันยายน 2563 6
  บาร์รอส ทาร์เดลี สมุทรปราการ ซิตี้ ชลบุรี 4–1 (H) 12 ธันวาคม 2563 14
  เดนนิส มูริลลู นครราชสีมา มาสด้า ตราด 4–3 (A) 13 ธันวาคม 2563 14
  เดนนิส มูริลลู นครราชสีมา มาสด้า โปลิศ เทโร 4–0 (H) 19 ธันวาคม 2563 15
 จอห์น บักจีโอ4 สุโขทัย พีที ประจวบ 4–3 (H) 11 กุมภาพันธ์ 2564 18
  สรรเสริญ ลิ้มวัฒนะ ตราด สุโขทัย 4–2 (A) 17 กุมภาพันธ์ 2564 20
  ซาร์ดอร์ มีร์ซาเยฟ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ราชบุรี มิตรผล 3–1 (A) 20 กุมภาพันธ์ 2564 21
  สุภโชค สารชาติ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สุพรรณบุรี 3–2 (A) 20 กุมภาพันธ์ 2564 21
  บาร์รอส ทาร์เดลี สมุทรปราการ ซิตี้ พีที ประจวบ 4–0 (H) 21 กุมภาพันธ์ 2564 21
  จีโอกู บีจี ปทุม ยูไนเต็ด สมุทรปราการ ซิตี้ 6–0 (A) 28 กุมภาพันธ์ 2564 23
  เดนนิส มูริลลู4 นครราชสีมา มาสด้า เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 4–1 (H) 9 มีนาคม 2564 26
  วิลเลี่ยน โมต้า พีที ประจวบ ระยอง 3–1 (A) 9 มีนาคม 2564 26

คลีนชีตส์

แก้
ณ วันที่ 28 มีนาคม 2564
 
ฉัตรชัย บุตรพรม เก็บคลีนชีตส์มากสุดที่ 19 ครั้ง
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1   ฉัตรชัย บุตรพรม บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 19
2   ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 15
3   ธณชัย หนูราช นครราชสีมา มาสด้า 8
  ปฏิวัติ คำไหม สมุทรปราการ ซิตี้
5   สรานนท์ อนุอินทร์ สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 7
  วรวุฒิ ศรีสุภา การท่าเรือ
7   สินทวีชัย หทัยรัตนกุล ชลบุรี 6
  กัมพล ปฐมอรรฆย์กุล ระยอง (1), ราชบุรี มิตรผล (5)
9   ไมเคิล ฟาลเคสการ์ด ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 5
  ประสิทธิ์ ผดุงโชค โปลิศ เทโร
  สมพร ยศ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
  พีระพงษ์ เรือนนินทร์ สุโขทัย
  ปาทริก เดย์โต สุพรรณบุรี

รางวัล

แก้

รางวัลประจำเดือน

แก้
 
ดุสิต เฉลิมแสน ได้รับรางวัลผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือนถึงสองครั้งในฤดูกาลนี้
เดือน ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือน ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือน ประตูยอดเยี่ยมประจำเดือน อ้างอิง
ผู้จัดการทีม สโมสร ผู้เล่น สโมสร ผู้เล่น สโมสร
กุมภาพันธ์   ชัยธัช อ่วมธรรม ราชบุรี มิตรผล   ฮาจิเมะ โฮโซไง ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด   เดนนิส มูริลลู นครราชสีมา มาสด้า
กันยายน   ดุสิต เฉลิมแสน บีจี ปทุม ยูไนเต็ด   ฉัตรชัย บุตรพรม บีจี ปทุม ยูไนเต็ด   อิบซง แมลู สุโขทัย
ตุลาคม   สระราวุฒิ ตรีพันธ์ การท่าเรือ   อันเดรส ตุญเญซ บีจี ปทุม ยูไนเต็ด   วีลียัง ป๊อปป์ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด [18]
พฤศจิกายน   ดุสิต เฉลิมแสน บีจี ปทุม ยูไนเต็ด   เซร์ฆิโอ ซัวเรซ การท่าเรือ   สิทธิโชค ภาโส ตราด
ธันวาคม   มาซาตาดะ อิชิอิ สมุทรปราการ ซิตี้   เจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์ สมุทรปราการ ซิตี้   แดร์เลย์ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
มีนาคม   อาเลชังดรี กามา บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด   ฟิลิป โรลเลอร์ ราชบุรี มิตรผล   อียานิก บอลี การท่าเรือ

อ้างอิง

แก้
  1. ""บีจี ปทุม ยูไนเต็ด" คว้าแชมป์ไทยลีกเร็วสุดในประวัติศาสตร์". สำนักข่าวไทย. สืบค้นเมื่อ 5 March 2021.
  2. "9 ข้อต้องรู้! ความเป็น "ที่สุด" ของ บีจี ปทุมฯ กับแชมป์ไทยลีกประวัติศาสตร์". สยามสปอร์ต. สืบค้นเมื่อ 5 March 2021.
  3. "ไทยลีกมีมติแข่งขันลีกอาชีพแบบปิด ตลอดเดือนมีนาคม เริ่มวันที่ 7 นี้". FA Thailand.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-02. สืบค้นเมื่อ 2020-05-12.
  4. "ไทยลีก แจ้งกำหนดการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพใหม่ ฤดูกาล 2020". thaileague.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-24. สืบค้นเมื่อ 2020-05-12.
  5. "ประกาศเลื่อนวันแข่งขันไทยลีก เป็นวันที่ 2 พ.ค." Thaileague.com.[ลิงก์เสีย]
  6. "ไทยลีกแจ้งรายละเอียดการจัดแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพไทยลีก 1-2". thaileague.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-19. สืบค้นเมื่อ 2020-05-12.
  7. "BREAKING! บีจียำลำปาง 7-1 คัมแบ็คโตโยต้าไทยลีก". โกล ประเทศไทย. 14 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  8. "มิติใหม่ลูกหนังไทย! ส.บอล มีมติ อยุธยา ยู – นาวี ไม่ตกชั้น T2". supersubthailand.com. 23 พฤศจิกายน 2562. สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  9. "OFFICIAL : การท่าเรือหั่น "กัปตันโรเชลา" เปิดทางโรลันโด้". โกล ประเทศไทย. 13 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  10. ระยอง เอฟซี เปิดตัว อาร์ตูร์ แบร์นาร์เดส เป็นกุนซือคนใหม่
  11. "ด่วน!! การท่าเรือ แยกทาง โค้ชโชค แล้ว". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-28. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
  12. สยามกีฬา: ทางการ!ราชบุรีฯตั้งมิลอส โจซิคคุมทีม-โค้ชเจี๊ยบรั้งมือขวา
  13. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 1" พ.ศ. 2562" (PDF). thaileague.co.th. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 23 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  14. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 1" พ.ศ. 2562" (PDF). thaileague.co.th. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 23 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)[ลิงก์เสีย]
  15. "คณะวินัยฯ แถลงเรื่องการพิจารณา วินัย มารยาท จากเกมคู่ระหว่าง ท่าเรือ-เทโร". thaileague.co.th. 16 กันยายน 2563. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-24. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2563. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  16. "Thai League Top Scorer". www.goal.com.
  17. "Thai League Top Assists". www.goal.com.
  18. "โค้ชอู๊ด-ตูเญซ" คว้ารางวัลโค้ชและนักเตะยอดเยี่ยมไทยลีก ประจำเดือน ต.ค.