ไทยลีก ฤดูกาล 2562
ไทยลีก ฤดูกาล 2562 หรือ โตโยต้า ไทยลีก ฤดูกาล 2562 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ โตโยต้า เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกฤดูกาลที่ 23 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย โดยมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 16 สโมสร ซึ่งลดลงจาก 18 สโมสรในฤดูกาลที่ผ่านมา และเป็นฤดูกาลแรกที่มีสโมสรเข้าแข่งขันจำนวน 16 สโมสรนับตั้งแต่ฤดูกาล 2553 โดยมีบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดเป็นแชมป์เก่าจากฤดูกาลที่แล้ว และมีสโมสรที่เข้าร่วมลีกสูงสุดเป็นครั้งแรกสองสโมสรได้แก่ ตราด[1]และเชียงใหม่[2] การแข่งขันนัดแรกได้เริ่มต้นในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562[3] และฤดูกาลนี้จะเป็นฤดูกาลแรกที่ใช้วีเออาร์ แต่มีปัญหาบางอย่างที่ไม่ทราบได้ทำให้ถูกพักอย่างไม่มีกำหนด
ฤดูกาล | 2562 |
---|---|
วันที่ | 22 กุมภาพันธ์ 2562 – 26 ตุลาคม 2562 |
ทีมชนะเลิศ | เชียงราย ยูไนเต็ด |
ตกชั้น | ชัยนาท ฮอร์นบิล เชียงใหม่ |
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก | เชียงราย ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด |
จำนวนนัด | 240 |
จำนวนประตู | 648 (2.7 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ลอนซานา ดูมบูยา (20 ประตู) |
ทีมเหย้า ชนะสูงสุด | บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6–0 ราชบุรี มิตรผล (17 สิงหาคม 2562) |
ทีมเยือน ชนะสูงสุด | เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 0–3 สมุทรปราการ ซิตี้ (11 พฤษภาคม 2562) สมุทรปราการ ซิตี้ 0–3 พีทีที ระยอง (13 กรกฎาคม 2562) สมุทรปราการ ซิตี้ 0–3 เชียงราย ยูไนเต็ด (11 สิงหาคม 2562) |
จำนวนประตูสูงสุด | ชลบุรี 7–5 เชียงใหม่ (21 เมษายน 2562) สถิติสูงสุดตลอดกาลของไทยลีก (12 ประตู) |
ชนะติดต่อกัน มากที่สุด | 5 นัด การท่าเรือ |
ไม่แพ้ติดต่อกัน มากที่สุด | 11 นัด เชียงราย ยูไนเต็ด |
ไม่ชนะติดต่อกัน มากที่สุด | 8 นัด เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด |
แพ้ติดต่อกัน มากที่สุด | 4 นัด เชียงใหม่ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด สมุทรปราการ ซิตี้ ตราด |
จำนวนผู้ชมสูงสุด | 32,538 คน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–1 การท่าเรือ (20 ตุลาคม 2562) |
จำนวนผู้ชมต่ำสุด | 443 คน เชียงใหม่ 1–3 ตราด (18 สิงหาคม 2562) |
จำนวนผู้ชมรวม | 1,367,681 คน |
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย | 5,699 คน |
← 2561 2563 → |
เชียงราย ยูไนเต็ด ได้แชมป์ไทยลีกเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร นอกจากนี้ ฤดูกาลนี้ยังเป็นฤดูกาลแรกนับตั้งแต่ปี 2550 ที่สโมสรอื่นนอกเหนือจากบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดและเมืองทอง ยูไนเต็ด ได้แชมป์ไทยลีก
สโมสร
แก้การเปลี่ยนแปลงสโมสรจากฤดูกาลที่แล้ว
แก้ทั้งหมด 16 สโมสรที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลนี้ โดยแบ่งเป็น 13 สโมสร จากไทยลีก ฤดูกาล 2561 และ 3 สโมสรอันดับแรกจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2561
ตกชั้นสู่ไทยลีก 2
แก้แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด อดีตแชมป์ไทยลีก 2 สมัย ตกชั้นเป็นทีมแรกในฤดูกาล 2561 ในนัดที่แพ้ชลบุรี 1–2 เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยแอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ขึ้นชั้นมาเล่นในฤดูกาล 2561 เพียงฤดูกาลเดียว[4]
อุบล ยูไนเต็ด เป็นสโมสรที่ 2 ที่ตกชั้นจากไทยลีก ฤดูกาล 2561 หลังจากเสมอกับสุพรรณบุรี 2–2 เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2561 ยุติการลงเล่นในลีกสูงสุดหลังจากขึ้นชั้นมาเล่น 2 ฤดูกาล[5]
ราชนาวี เป็นสโมสรที่ 3 ที่ตกชั้น หลังจากเสมอกับสิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 2–2 เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยเป็นการตกชั้นครั้งที่ 6 ของสโมสร[6]
โปลิศ เทโร อดีตแชมป์ไทยลีก 2 สมัย เป็นสโมสรที่ 4 ที่ตกชั้น หลังจากแพ้ราชนาวี 4–2 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็นการตกชั้นครั้งแรกในรอบ 22 ปี และครั้งแรกในประวัติศาสตร์สโมสรที่ตกชั้นไปเล่นไทยลีก 2 อีกด้วย[7]
บีจีพียู เป็นสโมสรสุดท้ายที่ตกชั้น หลังจากแพ้นครราชสีมา มาสด้า 1–2 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ยุติการลงเล่นบนลีกสูงสุดในรอบ 10 ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสร[8]
เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก
แก้พีทีที ระยอง เป็นสโมสรแรกที่ได้เลื่อนชั้น ในนัดที่เสมอเชียงใหม่ 1–1 เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยเป็นการกลับขึ้นมาเล่นบนไทยลีกอีกครั้งหลังจากฤดูกาล 2557[9]
ตราด เป็นสโมสรที่ 2 ที่ได้เลื่อนชั้น หลังจากชนะระยอง 2–1 เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สโมสรที่ได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยลีกหลังจากก่อตั้งสโมสรมา 7 ปี[10]
เชียงใหม่ เป็นสโมสรสุดท้ายที่ได้เลื่อนชั้น หลังจากเสมอขอนแก่น 2–2 เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในไทยลีกเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สโมสรนับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสรมา 20 ปี[11]
การท่าเรือ
ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด
สมุทรปราการ ซิตี้
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว
แก้ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน
แก้สโมสร | หัวหน้าผู้ฝึกสอน | กัปตันทีม | ผู้ผลิตชุด | ผู้สนับสนุน |
---|---|---|---|---|
การท่าเรือ | โชคทวี พรหมรัตน์ | ศิวกร จักขุประสาท[a] | แกรนด์สปอร์ต | เมืองไทยประกันภัย, เมืองไทยประกันชีวิต2 |
ชลบุรี | สะสม พบประเสริฐ | เกริกฤทธิ์ ทวีกาญจน์ | ไนกี้ | ช้าง, ไดกิน1, แอร์เอเชีย2, เอไอเอ2 |
ชัยนาท ฮอร์นบิล | เดนนิส อามาโต | ปริญญา อู่ตะเภา | วอริกซ์ | วังขนาย, ลีโอ2, ดูคาติ2 |
เชียงใหม่ | สุรพงษ์ คงเทพ | สุวรรณภัทร กิ่งแก้ว | โวลต์ | ลีโอ, บางกอกแอร์เวย์1, เมืองไทยประกันชีวิต2 |
ตราด | พยงค์ ขุนเณร | พิชิต ใจบุญ | แกรนด์สปอร์ต | ซีพี, บางกอกแอร์เวย์1 |
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด | อาเลชังดรี ปอลกิง | แอนโธนี อำไพพิทักษ์วงศ์ | อาริ | ทรู, หัวเว่ย, ไดกิน1, ซีพี2 |
นครราชสีมา มาสด้า | เฉลิมวุฒิ สง่าพล | เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว | เวอร์ซุส | มาสด้า, จีเอสแบตเตอรี1, ซีพี2, ลีโอ2 |
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | โบซีดาร์ บันโดวิช | สุเชาว์ นุชนุ่ม | อาริ | ช้าง, โคคา-โคล่า1, ซีพี2, เมืองไทยประกันชีวิต2 |
พีที ประจวบ | ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล | อดุลย์ หมื่นสมาน | วอริกซ์ | พีที, ลีโอ2 |
พีทีที ระยอง | ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น | อภิภู สุนทรพนาเวศ | วอริกซ์ | ปตท., คาเฟ่ อเมซอน2 |
ราชบุรี มิตรผล | สมชาย ไม้วิลัย (รักษาการ) | ชุติพนธ์ ทองแท้ | — | มิตรผล, คูโบต้า1, เอไอเอ2 |
สมุทรปราการ ซิตี้ | เท็ตซูยะ มูรายามะ | พีรดนย์ ฉ่ำรัศมี | อาริ | ซันวา, กุ๊ก1, แอร์เอเชีย2 |
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | ไอล์ตง ซิลวา | ธนะศักดิ์ ศรีใส | เอฟบีที | ลีโอ, บางกอกแอร์เวย์, บีจีเอฟ2 |
สุโขทัย | ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก | จอห์น บักจีโอ | มาวิน | ช้าง, เซเว่น อีเลฟเว่น1, บางกอกแอร์เวย์1 |
สุพรรณบุรี | อเดบาโย กาเดโบ | อดุล หละโสะ | วอริกซ์ | ช้าง, ทรู1 |
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | อาเลชังดรี กามา | ธีรศิลป์ แดงดา | แกรนด์สปอร์ต | เอสซีจี, ยามาฮ่า, โคคา-โคล่า1, ลีโอ2 |
- ↑ เนื่องจากดาบิด โรเชลา กัปตันทีม ไม่ได้ลงทะเบียนเป็นผู้เล่นในการแข่งขันไทยลีก[12]
การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม
แก้สโมสร | ผู้จัดการทีมที่ออก | สาเหตุที่ออก | วันที่ออก | อันดับในตารางคะแนน | ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน | วันที่เข้า |
---|---|---|---|---|---|---|
ตราด | ดุสิต เฉลิมแสน | ความยินยอมร่วมกัน | 9 ตุลาคม 2561 | ก่อนเปิดฤดูกาล | พยงค์ ขุนเณร | 15 ตุลาคม 2561[13] |
สุโขทัย | เฉลิมวุฒิ สง่าพล | 10 ตุลาคม 2561 | ลูโบเมียร์ ริสตอฟสกี | 1 พฤศจิกายน 2561 | ||
ราชบุรี มิตรผล | ลาสซาอัด ชับบี | หมดสัญญา | 30 พฤศจิกายน 2561 | มานูเอล มาร์เกซ โรกา | 18 ธันวาคม 2561[14] | |
ราชบุรี มิตรผล | มานูเอล มาร์เกซ โรกา | ลาออก | 22 มกราคม 2562[15] | ฟรันเชสก์ บอช | 29 มกราคม 2562[16] | |
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | โชเซ เอาวีส บอร์จีส | ความยินยอมร่วมกัน | 11 กุมภาพันธ์ 2562[17] | ไอล์ตง ซิลวา | 11 กุมภาพันธ์ 2562[17] | |
ราชบุรี มิตรผล | ฟรันเซสก์ บอช | 23 มีนาคม 2562[18] | อันดับที่ 13 | มาร์โก ซีโมเน | 25 มีนาคม 2562[19] | |
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก | ลาออก | 31 มีนาคม 2562[20] | อันดับที่ 10 | อุทัย บุญเหมาะ | 1 เมษายน 2562 |
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | อุทัย บุญเหมาะ | สิ้นสุดการรักษาการ | 8 เมษายน 2562[21] | อันดับที่ 15 | ยุน จง-ฮวัน | 8 เมษายน 2562[21] |
สมุทรปราการ ซิตี้ | สุรพงษ์ คงเทพ | ลาออก | 29 พฤษภาคม 2562[22] | อันดับที่ 3 | เท็ตซูยะ มูรายามะ | 14 มิถุนายน 2562[23] |
ชลบุรี | จักรพันธ์ ปั่นปี | 31 พฤษภาคม 2562[24] | อันดับที่ 10 | สะสม พบประเสริฐ | 3 มิถุนายน 2562[25] | |
สุพรรณบุรี | ธชตวัน ศรีปาน | 2 มิถุนายน 2562[26] | อันดับที่ 16 | อเดบาโย กาเดโบ | 8 มิถุนายน 2562[27] | |
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | ยุน จง-ฮวัน | ความยินยอมร่วมกัน | 12 มิถุนายน 2562[28] | อันดับที่ 15 | อาเลชังดรี กามา | 13 มิถุนายน 2562[29] |
เชียงใหม่ | การ์ลุส เอดูอาร์ดู เปย์ไรรา | 28 มิถุนายน 2562[30] | อันดับที่ 15 | สุรพงษ์ คงเทพ | 28 มิถุนายน 2562[31] | |
ราชบุรี มิตรผล | มาร์โก ซีโมเน | ลาออก | 14 กรกฎาคม 2562[32] | อันดับที่ 10 | สมชาย ไม้วิลัย | 14 กรกฎาคม 2562 |
การท่าเรือ | จเด็จ มีลาภ | เปลี่ยนตำแหน่งเป็นประธานเทคนิค | 21 กรกฎาคม 2562[33] | อันดับที่ 5 | โชคทวี พรหมรัตน์ | 21 กรกฎาคม 2562 |
สุโขทัย | ลูโบเมียร์ ริสตอฟสกี | ไล่ออก | 1 สิงหาคม 2562[34] | อันดับที่ 12 | ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก | 2 สิงหาคม 2562[35] |
นครราชสีมา มาสด้า | มีลอช ยอกซิช | ลาออก | 26 สิงหาคม 2562[36] | อันดับที่ 12 | เฉลิมวุฒิ สง่าพล | 26 สิงหาคม 2562[36] |
การเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ทีม
แก้- พัทยา ยูไนเต็ด เปลี่ยนชื่อเป็น สมุทรปราการ ซิตี้ และย้ายสนามไปใช้สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย บางพลี[37]
ตารางคะแนน
แก้อันดับ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | 30 | 16 | 10 | 4 | 53 | 28 | +25 | 58[a] | เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบแบ่งกลุ่ม |
2 | บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 30 | 16 | 10 | 4 | 51 | 25 | +26 | 58[a] | เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกรอบที่ 2 |
3 | การท่าเรือ | 30 | 15 | 8 | 7 | 55 | 36 | +19 | 53 | เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกรอบที่ 2[b] |
4 | ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด | 30 | 13 | 11 | 6 | 55 | 32 | +23 | 50 | |
5 | เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | 30 | 14 | 4 | 12 | 45 | 42 | +3 | 46 | |
6 | สมุทรปราการ ซิตี้ | 30 | 12 | 7 | 11 | 44 | 50 | −6 | 43 | |
7 | ชลบุรี | 30 | 11 | 7 | 12 | 43 | 45 | −2 | 40 | |
8 | ราชบุรี มิตรผล | 30 | 10 | 8 | 12 | 48 | 48 | 0 | 38 | |
9 | พีที ประจวบ | 30 | 9 | 10 | 11 | 32 | 44 | −12 | 37 | |
10 | ตราด | 30 | 9 | 8 | 13 | 47 | 47 | 0 | 35[c] | |
11 | พีทีที ระยอง | 30 | 9 | 8 | 13 | 33 | 46 | −13 | 35[c] | ขอพักทีม |
12 | สุโขทัย | 30 | 6 | 16 | 8 | 37 | 37 | 0 | 34[d] | |
13 | นครราชสีมา มาสด้า | 30 | 9 | 7 | 14 | 45 | 51 | −6 | 34[d] | |
14 | สุพรรณบุรี | 30 | 7 | 11 | 12 | 29 | 44 | −15 | 32 | |
15 | ชัยนาท ฮอร์นบิล | 30 | 8 | 6 | 16 | 31 | 50 | −19 | 30 | ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563 |
16 | เชียงใหม่ | 30 | 7 | 7 | 16 | 39 | 62 | −23 | 28 |
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. คะแนนแฟร์เพลย์ 6. เพลย์ออฟไม่ต่อเวลาพิเศษ ดวลจุดโทษทันทีถ้าเสมอ[38]
หมายเหตุ :
- ↑ 1.0 1.1 เชียงราย ยูไนเต็ด มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด: บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 0–0 เชียงราย ยูไนเต็ด, เชียงราย ยูไนเต็ด 4–0 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
- ↑ การท่าเรือ ได้เข้าแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกรอบที่ 2 ในฐานะทีมที่ชนะเลิศ ช้าง เอฟเอคัพ 2562
- ↑ 3.0 3.1 ตราด มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า พีทีที ระยอง: พีทีที ระยอง 2–3 ตราด, ตราด 0–0 พีทีที ระยอง
- ↑ 4.0 4.1 สุโขทัย มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า นครราชสีมา: สุโขทัย 1–0 นครราชสีมา, นครราชสีมา 2–4 สุโขทัย
อันดับตามสัปดาห์
แก้ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16
ผู้นำในสัปดาห์และได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบแบ่งกลุ่ม | |
ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกรอบที่ 2 | |
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563 |
ผลการแข่งขัน
แก้เหย้า / เยือน | PRT | CHO | CNH | CHM | TRA | BKU | NRM | BRU | PRA | PTT | RBM | SPC | CRU | SKT | SUP | MTU |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การท่าเรือ | — | 2–2 | 4–0 | 3–1 | 4–1 | 1–1 | 3–0 | 1–3 | 5–0 | 1–1 | 1–0 | 2–2 | 1–4 | 1–0 | 3–2 | 2–0 |
ชลบุรี | 2–3 | — | 1–2 | 7–5 | 3–3 | 2–1 | 2–1 | 1–0 | 3–2 | 3–0 | 1–0 | 0–2 | 0–2 | 2–2 | 0–0 | 2–0 |
ชัยนาท ฮอร์นบิล | 0–3 | 1–0 | — | 2–2 | 3–2 | 2–1 | 1–3 | 2–1 | 1–1 | 1–2 | 0–3 | 2–3 | 1–1 | 1–0 | 0–0 | 3–0 |
เชียงใหม่ | 0–2 | 2–1 | 2–2 | — | 1–3 | 1–1 | 5–1 | 1–1 | 1–0 | 0–2 | 2–1 | 2–2 | 0–1 | 0–0 | 0–1 | 1–1 |
ตราด | 1–2 | 1–1 | 2–2 | 4–0 | — | 0–1 | 2–1 | 0–1 | 0–0 | 0–0 | 0–1 | 1–1 | 3–1 | 2–0 | 4–0 | 3–4 |
ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด | 2–0 | 2–4 | 2–0 | 2–0 | 2–1 | — | 2–2 | 0–1 | 6–1 | 4–0 | 2–0 | 2–1 | 1–1 | 2–2 | 4–0 | 1–0 |
นครราชสีมา มาสด้า | 1–1 | 4–0 | 2–1 | 4–2 | 0–0 | 1–1 | — | 2–3 | 3–1 | 0–1 | 3–3 | 4–1 | 1–2 | 2–4 | 1–1 | 3–1 |
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 3–1 | 2–2 | 1–0 | 4–0 | 1–1 | 1–1 | 2–0 | — | 2–0 | 5–0 | 6–0 | 3–2 | 0–0 | 1–1 | 0–0 | 1–0 |
พีที ประจวบ | 1–1 | 0–2 | 3–1 | 2–0 | 2–3 | 1–0 | 1–0 | 1–1 | — | 2–0 | 2–2 | 2–0 | 0–0 | 1–1 | 2–1 | 1–2 |
พีทีที ระยอง | 1–0 | 1–0 | 1–2 | 2–3 | 2–3 | 1–4 | 0–1 | 0–1 | 3–1 | — | 1–3 | 2–1 | 2–2 | 0–0 | 2–0 | 2–2 |
ราชบุรี มิตรผล | 1–1 | 2–0 | 2–1 | 4–1 | 3–2 | 2–2 | 2–3 | 1–2 | 0–1 | 1–1 | — | 5–2 | 0–2 | 2–2 | 3–0 | 2–0 |
สมุทรปราการ ซิตี้ | 2–1 | 1–0 | 1–0 | 3–2 | 2–3 | 1–1 | 2–0 | 1–4 | 1–1 | 0–3 | 2–1 | — | 0–3 | 0–0 | 2–3 | 2–1 |
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | 0–0 | 1–0 | 1–0 | 2–1 | 3–1 | 1–3 | 1–1 | 4–0 | 4–1 | 1–0 | 1–1 | 1–1 | — | 1–1 | 3–1 | 2–3 |
สุโขทัย | 3–1 | 0–0 | 2–0 | 1–2 | 2–1 | 1–1 | 1–0 | 1–1 | 1–1 | 3–1 | 2–2 | 1–2 | 2–3 | — | 1–1 | 2–3 |
สุพรรณบุรี | 1–3 | 3–0 | 1–0 | 1–2 | 1–0 | 1–1 | 3–1 | 0–0 | 1–1 | 0–0 | 3–0 | 0–1 | 2–5 | 1–1 | — | 0–0 |
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | 1–2 | 0–2 | 3–0 | 2–0 | 3–0 | 3–2 | 2–0 | 3–1 | 0–1 | 2–2 | 2–1 | 0–3 | 1–0 | 2–0 | 4–1 | — |
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ
อักษร "a" สำหรับการแข่งขันที่ยังไม่เกิดขึ้นหมายความว่ามีบทความเกี่ยวกับการแข่งขันนัดนี้
สถิติ
แก้- ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2562
การทำประตู
แก้ผู้ทำประตูสูงสุด
แก้อันดับที่ | ผู้เล่น | สโมสร | ประตู |
---|---|---|---|
1 | ลอนซานา ดูมบูยา | ตราด | 20 |
2 | เนลซอน โบนิยา | ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด | 16 |
3 | ลีอังดรู อัสซัมเซา | นครราชสีมา มาสด้า | 15 |
อิบซง แมลู | สมุทรปราการ ซิตี้ | 15 | |
5 | โรซิมาร์ อามันซีโอ | สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | 13 |
ไคอง | ชลบุรี (7 ประตู) พีที ประจวบ (6 ประตู) | ||
เอเบร์ชี | เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | ||
อ็องรี ดูมบีอา | นครราชสีมา มาสด้า | ||
9 | เอลียังดรู | เชียงใหม่ | 12 |
อียานิก บอลี | ราชบุรี มิตรผล | ||
11 | ลูเคียน | ชลบุรี | 11 |
แฮตทริก
แก้ผู้เล่น | สโมสร | พบกับ | ผลการแข่งขัน | วันที่ | นัดที่ |
---|---|---|---|---|---|
อียานิก บอลี | ราชบุรี มิตรผล | ตราด | 3–2 (H) | 22 กุมภาพันธ์ 2562 | 1 |
ลูเคียน5 | ชลบุรี | เชียงใหม่ | 7–5 (H) | 21 เมษายน 2562 | 8 |
ลีอังดรู อัสซัมเซา | นครราชสีมา มาสด้า | ชลบุรี | 4–0 (H) | 28 เมษายน 2562 | 9 |
เนลซอน โบนิยา | ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด | พีที ประจวบ | 6–1 (H) | 28 เมษายน 2562 | 9 |
บีรัม ดียุฟ | ตราด | ชลบุรี | 3–3 (A) | 11 พฤษภาคม 2562 | 10 |
- หมายเหตุ
4 ผู้เล่นทำประตู 4 ประตู ; 5 ผู้เล่นทำประตู 5 ประตู ; (H) – เล่นเป็นทีมเหย้า, (A) – เล่นเป็นทีมเยือน
คลีนชีตส์
แก้อันดับที่ | ผู้เล่น | สโมสร | คลีนชีตส์ |
---|---|---|---|
1 | ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน | บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 14 |
2 | พีระพงษ์ เรือนนินทร์ | พีทีที ระยอง | 11 |
3 | อภิรักษ์ วรวงษ์ | สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | 10 |
สินทวีชัย หทัยรัตนกุล | ชลบุรี | ||
5 | ดั่ง วัน เลิม | เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | 7 |
ขวัญชัย สุขล้อม | พีที ประจวบ | ||
7 | กิตติคุณ แจ่มสุวรรณ | สุโขทัย | 6 |
ปฏิวัติ คำไหม | สมุทรปราการ ซิตี้ | ||
ไมเคิล ฟาลเคสการ์ด | ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด | ||
วรวุฒิ ศรีสุภา | การท่าเรือ |
ระเบียบวินัย
แก้ผู้เล่น
แก้- ใบเหลืองมากที่สุด: 9[39]
- พิชิตพงษ์ เฉยฉิว (เชียงใหม่)
- ใบแดงมากที่สุด: 2[39]
- สรรวัชญ์ เดชมิตร (ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด)
สโมสร
แก้- ใบเหลืองมากที่สุด: 66[39]
- ชลบุรี
- ใบแดงมากที่สุด: 3[39]
- การท่าเรือ
- ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
รางวัล
แก้รางวัลประจำเดือน
แก้เดือน | ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือน | ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือน | อ้างอิง | ||
---|---|---|---|---|---|
ผู้จัดการทีม | สโมสร | ผู้เล่น | สโมสร | ||
มีนาคม | ลูโบเมียร์ ริสตอฟสกี | สุโขทัย | เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว | นครราชสีมา มาสด้า | [40] |
เมษายน | จเด็จ มีลาภ | การท่าเรือ | บดินทร์ ผาลา | การท่าเรือ | [41] |
พฤษภาคม | พยงค์ ขุนเณร | ตราด | ลอนซานา ดูมบูยา | ตราด | [42] |
มิถุนายน | อาเลชังดรี ปอลกิง | ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด | ปฏิวัติ คำไหม | สมุทรปราการ ซิตี้ | [43] |
กรกฎาคม | อาเลชังดรี กามา | เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | เอเบร์ชี | เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | [44] |
สิงหาคม | ไอล์ตง ซิลวา | สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | บรินเนร์ เอนรีเก | สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | [45] |
กันยายน | โชคทวี พรหมรัตน์ | การท่าเรือ | อัดนัน ออราฮอวัช | พีที ประจวบ | [46] |
ตุลาคม | สุรพงษ์ คงเทพ | เชียงใหม่ | พิธิวัต สุขจิตธรรมกุล | สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด | [47] |
ผู้ชม
แก้สถิติผู้ชมทั้งหมด
แก้อันดับ | ทีม | รวม | สูงสุด | ต่ำสุด | เฉลี่ย | เปลี่ยนแปลง |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 203,374 | 32,538 | 7,597 | 13,558 | +4.3% |
2 | นครราชสีมา มาสด้า | 185,813 | 22,555 | 3,615 | 12,388 | +69.2% |
3 | เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด | 136,501 | 12,942 | 5,452 | 9,100 | +15.0% |
4 | สุพรรณบุรี | 97,656 | 13,655 | 2,339 | 6,531 | +22.6% |
5 | การท่าเรือ | 76,312 | 7,960 | 2,478 | 5,087 | +27.6% |
8 | ชลบุรี | 71,345 | 8,450 | 1,845 | 4,756 | +10.5% |
7 | ราชบุรี มิตรผล | 73,134 | 8,415 | 3,397 | 4,876 | +36.7% |
9 | ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด | 65,673 | 15,155 | 1,278 | 4,378 | +50.5% |
6 | เชียงราย ยูไนเต็ด | 75,778 | 10,814 | 2,765 | 5,052 | +44.1% |
10 | ชัยนาท ฮอร์นบิล | 60,194 | 6,092 | 2,309 | 4,013 | +31.1% |
11 | ตราด | 59,039 | 4,955 | 2,541 | 3,936 | +184.2%† |
12 | พีทีที ระยอง | 57,159 | 10,822 | 2,108 | 3,811 | +99.4%† |
13 | สุโขทัย | 56,464 | 7,995 | 2,266 | 3,764 | −18.3% |
14 | พีที ประจวบ | 53,747 | 4,655 | 2,490 | 3,583 | −6.7% |
16 | สมุทรปราการ ซิตี้ | 42,950 | 4,932 | 1,429 | 2,863 | +7.9% |
15 | เชียงใหม่ | 42,950 | 12,796 | 443 | 3,488 | +117.2%† |
รวม | 1,367,681 | 32,538 | 443 | 5,699 | +27.6% |
ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2562
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก (T1)
หมายเหตุ:'
†
สโมสรที่ลงเล่นฤดูกาลก่อนหน้าในไทยลีก 2
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ ขาดอีกที่เดียว! ตราด ขึ้นไทยลีกหลังขอนแก่นแพ้ไทยฮอนด้า[ลิงก์เสีย], FourFourTwo.com, สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2561
- ↑ ครั้งแรกในประวัติศาสตร์! เชียงใหม่ขึ้นโตโยต้าไทยลีกทีมสุดท้าย, Goal.com, สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2561
- ↑ ไทยลีกแถลงขอบคุณทุกฝ่ายสำหรับฤดูกาล 2018 พร้อมชี้แจงกรณี T3-T4 และวันเปิดลีกใหม่ในฤดูกาล 2019[ลิงก์เสีย], thaileague.co.th, สืบค้นข้อมูลเมื่อ 8 ตุลาคม 2561
- ↑ "แอร์ฟอร์ซฯ อดีตแชมป์ไทยลีก 2 สมัย ตกชั้นทีมแรก!". Siamsport. 8 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "เสมอไม่พอ! อุบลบุกเจ๊าสุพรรณฯ แต่หล่นตกชั้นตามแอร์ฟอร์ซ". Siamsport. 15 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "ราชนาวีไม่ถอดใจแม้ตกชั้นพร้อมสร้างทีมลุยลีกพระรอง". Siamsport. 23 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "ตกชั้นทีมที่4! เทโรฮึดไม่ขึ้นบุกพ่ายราชนาวี ร่วงไทยลีกในรอบ22ปี". Siamsport. 3 ตุลาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "ไร้ปาฏิหาริย์! บีจี10ตัวพลาดท่าแพ้โคราช ตกชั้นทีมสุดท้าย". Siamsport. 7 ตุลาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "พลังเพลิงเจ๊า1-1ฉลองเลื่อนชั้นทีมแรก,ตราดเฮยังมีลุ้น". Siamsport. 22 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL : ประวัติศาสตร์! ตราดผงาดเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 1 เป็นครั้งแรก". Mthai. 23 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ "วันประวัติศาสตร์! เชียงใหม่ซิวตั๋วเลื่อนชั้นโตโยต้า ไทยลีกใบสุดท้าย". Mthai. 29 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ "OFFICIAL : การท่าเรือหั่น "กัปตันโรเชลา" เปิดทางโรลันโด้". โกล ประเทศไทย. 13 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "ตราดได้"พยงค์"คุมแทนโค้ชโอ่ง".
- ↑ "El dragón! ราชบุรี ตั้ง มาโนโล โค้ชสเปนคุมทัพ". โกล ประเทศไทย. 18 ธันวาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "มังกรงง! มาโนโล เทราชบุรีหลังได้งานใหม่". โกล ประเทศไทย. 22 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL : คนคุ้นเคย!เสี่ยฟลุคคอนเฟิร์มตั้ง"บอช"คุมราชบุรี". โกล ประเทศไทย. 29 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ 17.0 17.1 "OFFICIAL: เชียงรายแยกทางบอร์จีส, ตั้ง "ไอล์ตัน" คุม". โกล ประเทศไทย. 11 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "คอนเฟิร์มแล้ว "มาร์โก ซิโมเน่" คุมทัพราชบุรีฯเปิดตัว 25 มี.ค.นี้". สยามกีฬา. 23 มีนาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL : ประเดิมเมืองทอง!ราชบุรีเปิดตัว ซิโมเน คุมทัพ". โกล ประเทศไทย. 25 มีนาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "BREAKING : ขงเบ๊แยกทางเมืองทอง , ซิโก้ ตัวเต็ง". โกล ประเทศไทย. 31 มีนาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ 21.0 21.1 "BREAKING : ขงเบ๊แยกทางเมืองทอง , ซิโก้ ตัวเต็ง". โกล ประเทศไทย. 8 เมษายน 2562. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "งงทั้งอำเภอ! โค้ชอั๋น ขอลาออกปราการซิตี้แม้อยู่ท็อปโฟว์". โกล ประเทศไทย. 29 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL : คุ้นเคยกันดี! ปราการดัน มูระยามะ ขัดตาทัพ". โกล ประเทศไทย. 14 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "BREAKING : โค้ชโบ้แสดงสปิริตลาเก้าอี้ฉลามชล". โกล ประเทศไทย. 31 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL ! ฉลามเปิดตัว โค้ชเตี้ย นั่งกุนซือ , ประเดิมงานรับกิเลน". สโมสรฟุตบอลชลบุรี. 3 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "BREAKING : โค้ชแบนลาสุพรรณหลังจมบ๊วย". โกล ประเทศไทย. 2 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "คนคุ้นเคย! สุพรรณ ดึง อเดบาโย่ คุมทัพรอบ2". SMM Sport. 8 มิถุนายน 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-08. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "เปิดทางกามา!เมืองทองแยกทาง ยุน จอง ฮวาน". โกล ประเทศไทย. 12 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL : ประเดิมเยือนฉลาม!เมืองทองเปิดตัว กามา คุมทัพ". โกล ประเทศไทย. 13 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL: เชียงใหม่แยกทาง คาร์ลอส ก่อนดวลปราการ". โกล ประเทศไทย. 28 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL : ทันควัน! เชียงใหม่ตั้ง "โค้ชอั๋น" แทน คาร์ลอส". โกล ประเทศไทย. 28 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "BREAKING : ซิโมเน ลาออกกุนซือราชบุรี". โกล ประเทศไทย. 14 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "OFFICIAL : มาดามแป้ง ดันจเด็จขึ้นปธ.เทคนิค , ตั้งโชคกุนซือใหม่ท่าเรือ". โกล ประเทศไทย. 21 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "BREAKING : สุโขทัยแยกทาง ลูโบเมียร์ รีสตอฟสกี". โกล ประเทศไทย. 1 สิงหาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "งานถนัด! โค้ชเบ๊ คัมแบ็กคุม สุโขทัย หนีตกชั้นท้ายซีซั่น". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-02. สืบค้นเมื่อ 2019-08-02.
- ↑ 36.0 36.1 "OFFICIAL : "โจซิค" แยกทางแมวตั้ง "โค้ชหนุ่ย" กู้วิกฤต". โกล ประเทศไทย. 26 สิงหาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "ปิดตำนานโลมา!เอเอฟซีรับรองชื่อใหม่ พัทยา-อุบล". Goal.com. 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
และ|date=
(help) - ↑ "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 1" พ.ศ. 2562" (PDF). thaileague.co.th. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 23 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ 39.0 39.1 39.2 39.3 "Thai League". ไทยลีก. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-13. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ เดอะตุ๊กกดไลค์! "ลูโบ้-เฉลิมพงษ์" ซิวยอดเยี่ยม มี.ค โตโยต้า ไทยลีก. goal.com. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ ""จเด็จ" ควง "บดินทร์" คว้าโค้ช-นักเตะยอดเยี่ยมไทยลีกเดือนเมษายน".
- ↑ "ตราดเข้าวิน!พยงค์ควงดุมบูยา คว้ายอดเยี่ยมไทยลีก พ.ค." โกล ประเทศไทย. 25 มิถุนายน 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "ไร้พ่ายทั้งคู่! "มาโน-ปฏิวัติ" คว้ายอดเยี่ยมไทยลีก มิ.ย." โกล ประเทศไทย. 19 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "ที่นี่บราซิล! "เฮแบร์ตี้"ควง กามา คว้ายอดเยี่ยมไทยเดือน ก.ค." โกล ประเทศไทย. 4 สิงหาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2562.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ เชียงราย เหมา ! ‘ไอล์ตัน’ ควง ‘บรินเนอร์’ เหมารางวัลยอดเยี่ยมไทยลีก เดือนสิงหาคม
- ↑ "'โชคทวี'คว้ายอดโค้ชไทยลีกเดือนกันยายน".
- ↑ "'โค้ชอั๋น'คว้ารางวัลยอดเยี่ยมไทยลีก หลังดับฝัน'บุรีรัมย์'".