เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรถ้วยสูงสุดของทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย โดยการแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขั้นครั้งที่ 18 ภายใต้ชื่อเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเป็นการแข่งขันครั้งที่ 38 ของบอลถ้วยสูงสุดของเอเชีย[3]
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
วันที่ | รอบคัดเลือก: 14 – 28 มกราคม พ.ศ. 2563 การแข่งขันหลัก: 10 กุมภาพันธ์ – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 |
ทีม | การแข่งขัน: 32 ทั้งหมด: 52 (จาก 23 สมาคม) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | อุลซัน ฮุนได (สมัยที่ 2nd) |
รองชนะเลิศ | เพร์สโพลีส |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 93 |
จำนวนประตู | 236 (2.54 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 173,871 (1,870 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | อับเดร์ราซัค ฮัมดัลเลาะห์ (7 ประตู)[1] |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ยูน บิต-การัม[2] |
รางวัลแฟร์เพลย์ | อุลซัน ฮุนได |
การจัดสรรทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน
แก้46 ชาติสมาชิก เอเอฟซี (ไม่รวมสมาชิกสมทบ หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา) มีการจัดอันดับขึ้นอยู่กับทีมชาติและประสิทธิภาพในการทำงานของแต่ละสโมสรที่เหนือกว่าตลอดสี่ปีที่ผ่านมาในการแข่งขันของเอเอฟซี กับการจัดสรรในแต่ละช่องสำหรับฤดูกาล 2019 และ 2020 ของการแข่งขันโมสรเอเอฟซีที่ได้กำหนดโดยการจัดอันดับอันดับเอเอฟซี ในปี ค.ศ. 2017 (ตามบทความหลัก 2.3):[4]
- แต่ละสมาคมจะถูกแบ่งออกเป็นสองโซน:
- โซนตะวันตก ประกอบด้วยสมาคมจาก เอเชียตะวันตก เอเชียกลาง และ เอเชียใต้
- โซนตะวันออก ประกอบด้วยสมาคมจาก อาเซียน และ เอเชียตะวันออก
สำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020, แต่ละสมาคมจะถูกจัดสรรอยู่ในแต่ละจำนวนตามค่าสัมประสิทธิ์ของพวกเขาที่ได้วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2560,[5] ซึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถของพวกเขาในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกและเอเอฟซีคัพ, ในขณะเดียวกันกับ อันดับโลกฟีฟ่า ฟุตบอลทีมชาติ, ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 2014 และ ค.ศ. 2017.[4][6]
การประเมินสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 | |
---|---|
ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม | |
ไม่ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม |
|
|
- หมายเหตุ
- ^ Australia (AUS): The top division run by the Football Federation Australia, the A-League, only have nine Australia-based teams in the 2018–19 season, so Australia can only get a maximum of three total slots (Entry Manual 5.4).[4]
- ^ Syria (SYR): Syria does not have any teams which had an AFC Champions League license.[7]
ทีม
แก้ด้านล่างนี้คือ 52 ทีมที่มาจาก 23 สมาคมที่เข้าร่วมการแข่งขัน.
- หมายเหตุ
- ^ แชมป์เก่า (TH): อัลฮิลาลเป็นทีมชนะเลิศจากการแข่งขันครั้งที่แล้ว
- ^ สิงคโปร์ (SIN): ดีพีเอ็มเอ็มซึ่งชนะเลิศสิงคโปร์พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2019 มาจากประเทศบรูไนและไม่มีสิทธิ์เป็นตัวแทนประเทศสิงคโปร์ในการแข่งขันระดับสโมสรของเอเอฟซี ทำให้ทีมรองชนะเลิศได้แก่ทัมปิเนสโรเวอร์ได้เข้าสู่รอบคัดเลือกรอบเพลย์ออฟแทน
- ^ เวียดนาม (VIE): ฮานอยซึ่งชนะเลิศวี.ลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2019 ไม่ผ่านใบอนุญาตของเอเอฟซี เนื่องจากทีมรุ่นอายุไม่เกิน 15 ปีของพวกเขาไม่ได้เข้าร่วมในฟุตบอลลีกเยาวชนแห่งชาติเวียดนามรุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี[8] ทำให้ทีมรองชนะเลิศได้แก่นครโฮจิมินห์ได้เข้าสู่รอบคัดเลือกรอบเพลย์ออฟแทน
ตารางการแข่งขัน
แก้ด้านล่างนี้คือตารางของการแข่งขัน.[9][10]
รอบ | การแข่งขัน | วันจับสลาก | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
รอบคัดเลือก | รอบคัดเลือก รอบ 1 | ไม่มีการจับสลาก | 14 มกราคม 2563 | |
รอบคัดเลือก รอบ 2 | 21 มกราคม 2563 | |||
รอบเพลย์ออฟ | รอบเพลย์ออฟ | 28 มกราคม 2563 | ||
รอบแบ่งกลุ่ม | นัดที่ 1 | 10 ธันวาคม 2562 | 10–12 กุมภาพันธ์ 2563, 18–19 พฤศจิกายน 2563 (ตะวันออก) | |
นัดที่ 2 | 17–19 กุมภาพันธ์ 2563, 21–22 พฤศจิกายน 2563 (ตะวันออก) | |||
นัดที่ 3 | 2–4 มีนาคม 2563, 14–15 กันยายน 2563 (ตะวันตก), 24–25 พฤศจิกายน 2563 (ตะวันออก) | |||
นัดที่ 4 | 17–18 กันยายน 2563 (ตะวันตก), 27–28 พฤศจิกายน 2563 (ตะวันออก) | |||
นัดที่ 5 | 20–21 กันยายน 2563 (ตะวันตก), 30 พฤศจิกายน, 1 ธันวาคม 2563 (ตะวันออก) | |||
นัดที่ 6 | 23–24 กันยายน 2563 (ตะวันตก), 3–4 ธันวาคม 2563 (ตะวันออก) | |||
รอบแพ้คัดออก | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | 26–27 กันยายน 2563 (ตะวันตก) 6–7 ธันวาคม 2563 (ตะวันออก) | ||
รอบก่อนรองชนะเลิศ | 28 กันยายน 2563 (ตะวันตก) รอระบุ (ตะวันออก) |
30 กันยายน 2563 (ตะวันตก), 10 ธันวาคม 2563 (ตะวันออก) | ||
รอบรองชนะเลิศ | 3 ตุลาคม 2563 (ตะวันตก), 13 ธันวาคม 2563 (ตะวันออก) | |||
รอบชิงชนะเลิศ | 19 ธันวาคม 2563 |
รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ
แก้ในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ แต่ละคู่จะลงเล่นแบบนัดเดียว ในกรณีจำเป็น (มีการเสมอกัน) จะต่อเวลาพิเศษและดวลลูกโทษเพื่อตัดสินหาทีมผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น (อ้างอิงบทความที่ 9.2). ผู้ชนะของแต่ละคู่ในรอบเพลย์ออฟจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ ผู้แพ้ทั้งหมดในแต่ละรอบที่มาจากสมาคมกับช่องทางการเพลย์ออฟเท่านั้นจะได้ผ่านเข้าสู่เอเอฟซีคัพ 2020 รอบแบ่งกลุ่ม[3]
สายการแข่งขันของรอบคัดเลือกเพลย์ออฟสำหรับแต่ละโซนเป็นการกำหนดขึ้นโดยเอเอฟซีซึ่งขึ้นอยู่กับอันดับสมาคมของแต่ละทีม โดยทีมที่มาจากสมาคมที่มีอันดับสูงกว่าจะได้เป็นเจ้าภาพสำหรับนัดนั้น, โดยได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการโดยเอเอฟซีก่อนที่จะถึงรอบแบ่งกลุ่มในวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 2019 แต่ละทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถจัดวางอยู่ในรอบเพลย์ออฟคู่เดียวกันได้.
รอบคัดเลือกรอบแรก
แก้ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เชนไน ซิตี | 0–1 | อัล-ริฟฟา |
อัล-ไฟซาลี | 1–2 (ต่อเวลา) |
อัล-คูเวต
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เซเรส–เนกรอส | 3–2 | ชาน ยูไนเต็ด |
ทัมปิเนสโรเวอร์ | 3–5 (ต่อเวลา) |
บาหลี ยูไนเต็ด
|
รอบคัดเลือกรอบสอง
แก้ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
บุนยอดกอร์ | 4–1 | อัล-ซอว์ราอา |
โลโคโมทีพ ทาชเคนต์ | 0–1 | อิสติคลอล |
ชาห์ร โคโดร | 2–1 | อัล-ริฟฟา |
เอสเตกลาล | 3–0 | อัล-คูเวต
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เคดาห์ | 5–1 | ไต้ โป |
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด | 2–1 | นครโฮจิมินห์ |
การท่าเรือ | 0–1 | เซเรส–เนกรอส |
เมลเบิร์นวิกตอรี | 5–0 | บาหลี ยูไนเต็ด
|
รอบเพลย์ออฟ
แก้ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัลอิน | 1–0 | บุนยอดกอร์ |
อัลอะฮ์ลี | 1–0 | อิสติคลอล |
อัสซัยลิยะฮ์ | 0–0 (ต่อเวลา) (4–5 ล) |
ชาห์ร โคโดร |
อัรรอยยาน | 0–5 | เอสเตกลาล
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เอฟซีโซล | 4–1 | เคดาห์ |
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี | 3–0 | บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด |
เอฟซีโตเกียว | 2–0 | เซเรส–เนกรอส |
คาชิมะ แอนต์เลอส์ | 0–1 | เมลเบิร์นวิกตอรี
|
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้กลุ่ม เอ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | AHL | EST | SHO | WAH | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อัลอะฮ์ลี | 4 | 2 | 0 | 2 | 4 | 6 | −2 | 6 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 2–1 | 1–0 | ||
2 | เอสเตกลาล | 4 | 1 | 2 | 1 | 6 | 4 | +2 | 5 | 3–0 | — | 1–1 | |||
3 | อัล-ชอร์ตา | 4 | 1 | 2 | 1 | 4 | 4 | 0 | 5 | 2–1 | 1–1 | — | |||
4 | อัล-วะห์ดา | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | ถอนตัว[a] | — |
หมายเหตุ :
- ↑ อัล-วะห์ดา ไม่สามารถเดินทางไปกาตาร์ได้ที่จะเล่นสี่นัดสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่มเนื่องจากสมาชิกในทีมหลายคนทดสอบผลเชิงบวกสำหรับ โควิด-19.[11] พวกเขาได้รับการพิจารณาให้ถอนตัวจากการแข่งขัน, และแมตช์ทั้งหมดที่ผ่านมาที่ลงเล่นโดย อัล-วะห์ดา จะได้รับการพิจารณา "โมฆะ" และจะไมได้รับการพิจารณาในการกำหนดตารางคะแนนกลุ่มรอบสุดท้าย.[12]
กลุ่ม บี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | PAK | SAH | SHK | HIL | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ปัคห์ตากอร์ | 4 | 3 | 1 | 0 | 6 | 1 | +5 | 10 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 2–1 | 3–0 | ||
2 | ชะบาบอัลอะฮ์ลี | 4 | 2 | 1 | 1 | 3 | 2 | +1 | 7 | 0–0 | — | 1–0 | |||
3 | ชาห์ร โคโดร | 4 | 0 | 0 | 4 | 0 | 6 | −6 | 0 | 0–1 | 0–1 | — | |||
4 | อัล-ฮิลาล | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | ถอนทีม[a] | — |
หมายเหตุ :
- ↑ อัล-ฮิลาล ล้มเหลวในการเรียกชื่อ 13 ผู้เล่นที่ต้องการ และไม่สามารถที่จะลงเล่นนัดสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่มพบกับ ชะบาบอัลอะฮ์ลี เนื่องจากพวกเขาเหลือผู้เล่นเพียงแค่ 11 คนเท่านั้นกับสมาชิกในทีมที่เหลือทดสอบผลเชิงบวกสำหรับ โควิด-19. พวกเขาได้รับการพิจารณาให้ถอนตัวจากการแข่งขัน, และแมตช์ทั้งหมดที่ผ่านมาที่ลงเล่นโดย อัล-ฮิลาล จะได้รับการพิจารณา "โมฆะ" และจะไมได้รับการพิจารณาในการกำหนดตารางคะแนนกลุ่มรอบสุดท้าย.[13]
กลุ่ม ซี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | PRS | TAW | DUH | SHJ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เพร์สโพลีส | 6 | 3 | 1 | 2 | 8 | 5 | +3 | 10 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 1–0 | 0–1 | 4–0 | |
2 | อัล-ตาอาวูน | 6 | 3 | 0 | 3 | 4 | 8 | −4 | 9[a] | 0–1 | — | 2–0 | 0–6 | ||
3 | อัล-ดูฮาอิล | 6 | 3 | 0 | 3 | 7 | 8 | −1 | 9[a] | 2–0 | 0–1 | — | 2–1 | ||
4 | ชาร์จาห์ | 6 | 2 | 1 | 3 | 13 | 11 | +2 | 7 | 2–2 | 0–1 | 4–2 | — |
หมายเหตุ :
กลุ่ม ดี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | NAS | SAD | SEP | AIN | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อัล-นัสเซอร์ | 6 | 3 | 2 | 1 | 9 | 5 | +4 | 11 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 2–2 | 2–0 | 0–1 | |
2 | อัล-ซัดด์ | 6 | 2 | 3 | 1 | 14 | 8 | +6 | 9 | 1–1 | — | 3–0 | 4–0 | ||
3 | เซปาฮาน | 6 | 2 | 1 | 3 | 6 | 8 | −2 | 7 | 0–2 | 2–1 | — | 0–0 | ||
4 | อัลอัยน์ | 6 | 1 | 2 | 3 | 5 | 13 | −8 | 5 | 1–2 | 3–3 | 0–4 | — |
กลุ่ม อี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | BEI | MVC | SEO | CHI | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เป่ย์จิง เอฟซี | 6 | 5 | 1 | 0 | 12 | 4 | +8 | 16 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 3–1 | 3–1 | 1–1 | |
2 | เมลเบิร์นวิกตอรี | 6 | 2 | 1 | 3 | 6 | 9 | −3 | 7 | 0–2 | — | 2–1 | 1–0 | ||
3 | เอฟซีโซล | 6 | 2 | 0 | 4 | 10 | 9 | +1 | 6 | 1–2 | 1–0 | — | 5–0 | ||
4 | เชียงราย ยูไนเต็ด | 6 | 1 | 2 | 3 | 5 | 11 | −6 | 5 | 0–1 | 2–2 | 2–1 | — |
กลุ่ม เอฟ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | ULS | TOK | SSH | PRG | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อุลซันฮุนได | 6 | 5 | 1 | 0 | 14 | 5 | +9 | 16 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 1–1 | 3–1 | 2–0 | |
2 | เอฟซี โตเกียว | 6 | 3 | 1 | 2 | 6 | 5 | +1 | 10 | 1–2 | — | 0–1 | 1–0 | ||
3 | เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว | 6 | 2 | 1 | 3 | 9 | 13 | −4 | 7 | 1–4 | 1–2 | — | 3–3 | ||
4 | เพิร์ทกลอรี | 6 | 0 | 1 | 5 | 5 | 11 | −6 | 1 | 1–2 | 0–1 | 1–2 | — |
กลุ่ม จี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | VIS | SUW | GZE | JDT | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | วิสเซล โคเบะ | 4 | 2 | 0 | 2 | 4 | 5 | −1 | 6 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 0–2 | 0–2 | ||
2 | ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ | 4 | 1 | 2 | 1 | 3 | 2 | +1 | 5 | 0–1 | — | 0–0 | |||
3 | กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ | 4 | 1 | 2 | 1 | 4 | 4 | 0 | 5 | 1–3 | 1–1 | — | |||
4 | โจโฮร์ดารุลตักซิม | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | ถอนทีม[a] | — |
หมายเหตุ :
- ↑ โจโฮร์ดารุลตักซิม ไม่สามารถเดินทางไปกาตาร์เพื่อลงเล่นสี่นัดสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่มเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ข้อจำกัดในการเดินทางหลังจากที่พวกเขาถูกปฏิเสธการอนุญาตเดินทางโดยรัฐบาลมาเลเซีย.[14] พวกเขาได้รับการพิจารณาให้ถอนตัวจากการแข่งขัน, และแมตช์การแข่งขันก่อนหน้านี้ลงเล่นโดยพวกเขาจะได้รับการพิจารณา "โมฆะ" และจะไม่ได้รับการพิจารณาในการพิจารณาตารางคะแนนกลุ่มสุดท้าย.[15]
กลุ่ม เอช
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | YOK | SSI | JEO | SYD | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | 6 | 4 | 1 | 1 | 13 | 5 | +8 | 13 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 1–2 | 4–1 | 4–0 | |
2 | เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี | 6 | 3 | 0 | 3 | 6 | 10 | −4 | 9 | 0–1 | — | 0–2 | 0–4 | ||
3 | ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ | 6 | 2 | 1 | 3 | 8 | 10 | −2 | 7 | 1–2 | 1–2 | — | 1–0 | ||
4 | ซิดนีย์ เอฟซี | 6 | 1 | 2 | 3 | 8 | 10 | −2 | 5 | 1–1 | 1–2 | 2–2 | — |
รอบแพ้คัดออก
แก้ในรอบแพ้คัดออก, 16 ทีมลงเล่นในทัวร์นาเมนต์ตกรอบเดียว, กับทีมที่ถูกแบ่งออกเป็นสองโซนจนกระทั่งถึงรอบชิงชนะเลิศ. แต่ละคู่จะลงเล่นในแมตช์เลกเดียวที่สนามเป็นกลาง, แทนที่จะเป็นในบ้านและนอกบ้านตามปกติ สองนัด ตามที่วางแผนไว้ก่อนหน้า การแพร่ระบาดของโควิด-19. ต่อเวลาพิเศษ และ การดวลลูกโทษ เป็นวิธีการที่จะใช้ตัดสินหาทีมชนะเลิศถ้าในกรณีที่จำเป็น.
สายการแข่งขัน
แก้สายการแข่งขันได้ตัดสินออกมาหลังการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ. การจับสลากสำหรับโซนตะวันตก รอบก่อนรองชนะเลิศได้จัดขึ้นในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563, 11:00 AST (UTC+3), และการจับสลากสำหรับโซนตะวันออกรอบก่อนรองชนะเลิศได้จัดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2563, 11:30 AST (UTC+3), ทั้งสองโซนใน โดฮา, กาตาร์.[16][17][18][19]
รอบ 16 ทีมสุดท้าย | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||
27 กันยายน – เอดูเคชัน ซิตี | ||||||||||||||
อัล-นัสเซอร์ | 1 | |||||||||||||
30 กันยายน – จัสซิมบินฮะหมัด | ||||||||||||||
อัล-ตาอาวูน | 0 | |||||||||||||
อัล-นัสเซอร์ | 2 | |||||||||||||
26 กันยายน – อัล จานูบ | ||||||||||||||
อัลอะฮ์ลี | 0 | |||||||||||||
อัลอะฮ์ลี (ลูกโทษ) | 1 (4) | |||||||||||||
3 ตุลาคม – จัสซิมบินฮะหมัด | ||||||||||||||
ชะบาบอัลอะฮ์ลี | 1 (3) | |||||||||||||
อัล-นัสเซอร์ | 1 (3) | |||||||||||||
27 กันยายน – เอดูเคชัน ซิตี | ||||||||||||||
เพร์สโพลีส (ลูกโทษ) | 1 (5) | |||||||||||||
เพร์สโพลีส | 1 | |||||||||||||
30 กันยายน – จัสซิมบินฮะหมัด | ||||||||||||||
อัล-ซัดด์ | 0 | |||||||||||||
เพร์สโพลีส | 2 | |||||||||||||
26 กันยายน – อัล จานูบ | ||||||||||||||
ปัคห์ตากอร์ | 0 | |||||||||||||
ปัคห์ตากอร์ | 2 | |||||||||||||
19 ธันวาคม – อัล จานูบ | ||||||||||||||
เอสเตกลาล | 1 | |||||||||||||
เพร์สโพลีส | 1 | |||||||||||||
6 ธันวาคม – เอดูเคชัน ซิตี | ||||||||||||||
อุลซันฮุนได | 2 | |||||||||||||
อุลซันฮุนได | 3 | |||||||||||||
10 ธันวาคม – อัล จานูบ | ||||||||||||||
เมลเบิร์นวิกตอรี | 0 | |||||||||||||
อุลซันฮุนได | 2 | |||||||||||||
6 ธันวาคม – เอดูเคชัน ซิตี | ||||||||||||||
เป่ย์จิง เอฟซี | 0 | |||||||||||||
เป่ย์จิง เอฟซี | 1 | |||||||||||||
13 ธันวาคม – อัล จานูบ | ||||||||||||||
เอฟซี โตเกียว | 0 | |||||||||||||
อุลซันฮุนได (ต่อเวลา) | 2 | |||||||||||||
7 ธันวาคม – กีฬาแห่งชาติคาลิฟา | ||||||||||||||
วิสเซล โคเบะ | 1 | |||||||||||||
วิสเซล โคเบะ | 2 | |||||||||||||
10 ธันวาคม – อัล จานูบ | ||||||||||||||
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี | 0 | |||||||||||||
วิสเซล โคเบะ (ลูกโทษ) | 1 (7) | |||||||||||||
7 ธันวาคม – กีฬาแห่งชาติคาลิฟา | ||||||||||||||
ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ | 1 (6) | |||||||||||||
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | 2 | |||||||||||||
ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ | 3 | |||||||||||||
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
แก้ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย, ชนะเลิสของหนึ่งกลุ่มลงเล่นพบกับรองชนะเลิศของกลุ่มอื่นที่มาจากโซนเดียวกันและการกำหนดแมตช์จะตัดสินโดยการจับสลากรอบแบ่งกลุ่ม.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัลอะฮ์ลี | 1–1 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 4–3) |
ชะบาบอัลอะฮ์ลี |
ปัคห์ตากอร์ | 2–1 | เอสเตกลาล |
เพร์สโพลีส | 1–0 | อัล-ซัดด์ |
อัล-นัสเซอร์ | 1–0 | อัล-ตาอาวูน |
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เป่ย์จิง เอฟซี | 1–0 | เอฟซี โตเกียว |
อุลซันฮุนได | 3–0 | เมลเบิร์นวิกตอรี |
วิสเซล โคเบะ | 2–0 | เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี |
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | 2–3 | ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ |
รอบก่อนรองชนะเลิศ
แก้ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, สี่ทีมที่มาจากโซนตะวันตกลงเล่นในสองคู่, และสี่ทีมที่มาจากโซนตะวันออกลงเล่นในสองคู่, กับกำหนดแมตช์ที่จะตัดสินโดยการจับสลาก, ไม่มีการมีทีมวางใดๆ หรือระบบการป้องกันประเทศ. การจับสลากสำหรับโซนตะวันตก รอบก่อนรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563,[16][17] และการจับสลากสำหรับโซนตะวันออก รอบก่อนรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2563.[18][19]
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัล-นัสเซอร์ | 2–0 | อัลอะฮ์ลี |
เพร์สโพลีส | 2–0 | ปัคห์ตากอร์ |
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อุลซันฮุนได | 2–0 | เป่ย์จิง เอฟซี |
วิสเซล โคเบะ | 1–1 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 7–6) |
ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ |
รอบรองชนะเลิศ
แก้ในรอบรองชนะเลิศ, ผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศสองคู่ที่มาจากโซนตะวันตกลงเล่นพบกับทีมอื่น, และผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศสองคู่ที่มาจากโซนตะวันออกลงเล่นพบกับทีมอื่น.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัล-นัสเซอร์ | 1–1 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 3–5) |
เพร์สโพลีส |
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อุลซันฮุนได | 2–1 (ต่อเวลา) |
วิสเซล โคเบะ |
รอบชิงชนะเลิศ
แก้ในรอบชิงชนะเลิศ, ผู้ชนะรอบรองชนะเลิศสองคู่จะลงเล่นพบกันเอง, ที่ อัล จานูบสเตเดียม ใน อัล วาคราห์, ประเทศกาตาร์.[20]
เพร์สโพลีส | 1–2 | อุลซันฮุนได |
---|---|---|
อับดี 45' | รายงานสด รายงานสถิติ |
ฌูนีโอร์ เนเกรา 45+4', 55' (ลูกโทษ) |
รางวัล
แก้รางวัล | ผู้เล่น | ทีม |
---|---|---|
ผู้เล่นทรงคุณค่า[2] | ยูน บิต-การัม | อุลซัน ฮุนได |
ดาวซัลโวสูงสุด[1] | อับเดร์ราซัค ฮัมดัลเลาะห์ | อัล-นัสเซอร์ |
รางวัลทีมแฟร์เพลย์ | — | อุลซัน ฮุนได |
หมายเหตุ: อับเดร์ราซัค ฮัมดัลเลาะห์ จบเหนือกว่า ฌูนีโอร์ เนเกรา ที่ชนะรางวัลดาวซัลโวสูงสุด แม้จะทำประตูได้เท่ากัน, and also having the same number of assists (first tiebreaker), since he played fewer minutes throughout the competition (second tiebreaker).[1]
อันดับดาวซัลโว
แก้อันดับ | ผู้เล่น | ทีม | MD1 | MD2 | MD3 | MD4 | MD5 | MD6 | R16 | QF | SF | F | รวม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อับเดร์ราซัค ฮัมดัลเลาะห์ | อัล-นัสเซอร์ | 1 | 1 | 2 | 1 | 1 | 1 | 7 | ||||
ฌูนีโอร์ เนเกรา | อุลซัน ฮุนได | 1 | 1 | 2 | 1 | 2 | |||||||
3 | เทรนต์ บูฮากิอาร์ | ซิดนีย์ เอฟซี | 1 | 1 | 2 | 1 | 5 | ||||||
บียอร์น มาอาร์ส ยอห์นเซน | อุลซัน ฮุนได | 2 | 2 | 1 | |||||||||
5 | อาลัง | เป่ย์จิง เอฟซี | 1 | 1 | 1 | 1 | 4 | ||||||
อิสซา อาเลกาเซอร์ | เพร์สโพลีส | 1 | 1 | 2 | |||||||||
บักห์ดัด บูเน็ดจาห์ | อัล-ซัดด์ | 1 | 2 | 1 | |||||||||
อาโดะ โอนาอิวู | โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | 2 | 1 | 1 | |||||||||
ยูน บิต-การัม | อุลซัน ฮุนได | 2 | 2 | ||||||||||
10 | เมห์ดี อับดี | เพร์สโพลีส | 1 | 1 | 1 | 3 | |||||||
อัคร็อม อะฟิฟ | อัล-ซัดด์ | 1 | 1 | 1 | |||||||||
อัลโมเอซ อะลี | อัล-ดูฮาอิล | 1 | 1 | 1 | |||||||||
ฮัสซัน อัล-ฮายดอส | อัล-ซัดด์ | 1 | 2 | ||||||||||
โช กือ-ซุง | ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ | 1 | 2 | ||||||||||
เคียวโกะ ฟุรุฮะชิ | วิสเซล โคเบะ | 1 | 1 | 1 | |||||||||
จิโอวานนี โมเรโน | เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว | 1 | 2 | ||||||||||
เทรุฮิโตะ นะคะกะวะ | โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | 2 | 1 | ||||||||||
พัก จู-ย็อง | เอฟซีโซล | 1 | 1 | 1 | |||||||||
เวลลิตง | ชาร์จาห์ | 3 | |||||||||||
หยู ฮันเชา | เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว | 1 | 1 | 1 | |||||||||
ยุน จู-แต | เอฟซีโซล | 2 | 1 |
หมายเหตุ: ประตูที่ทำได้ในการคัดเลือกเพลย์ออฟไม่นับรวมก็ต่อเมื่อมีการกำหนดอันดับดาวซัลโว (ดูที่กฏระเบียบ, บทความที่ 64.4).[3]
รางวัลโตโยต้าผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำสัปดาห์
แก้รอบ | นัดที่ | ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำสัปดาห์ | ทีม | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
รอบแบ่งกลุ่ม | นัดที่ 1 | เคอิจิโระ โอกาวะ | วิสเซล โคเบะ | [21] |
นัดที่ 2 | เทรุฮิโตะ นาคากาวะ | โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | [22] | |
หลี เชงหลง | เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี | [23] | ||
นัดที่ 3 – ตะวันออก | เทอร์รี อันโตนิส | ซูวอนซัมซุงบลูวิงส์ | [24] | |
ซ็อง บัม-คึน | ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ | [25] | ||
นัดที่ 3 – ตะวันตก | อับเดร์ราซัค ฮัมดัลเลาห์ | อัล-นัสเซอร์ | [26] | |
นัดที่ 4 – ตะวันออก | บิล | เชียงราย ยูไนเต็ด | [27] | |
นัดที่ 4 – ตะวันตก | คาเล็ด บา วาซีร์ | ชาร์จาห์ | [28] | |
นัดที่ 5 – ตะวันออก | ธีราทร บุญมาทัน | โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | [29] | |
นัดที่ 5 – ตะวันตก | ไคอู | ชาร์จาห์ | [30] | |
นัดที่ 6 – ตะวันออก | ไดกิ นิวะ | เอฟซี โตเกียว | [31] | |
นัดที่ 6 – ตะวันตก | เมห์ดี กาเยดี | เอสเตกลาล | [32] | |
รอบแพ้คัดออก | รอบ 16 ทีมสุดท้าย – ตะวันออก | คิม แท-ฮวัน | ซูวอนซัมซุงบลูวิงส์ | [33] |
รอบ 16 ทีมสุดท้าย – ตะวันตก | อิสซา อาเลกาซีร์ | เพร์โพลีส | [34] | |
รอบก่อนรองชนะเลิศ – ตะวันออก | พัก ซัง-ฮย็อก | ซูวอนซัมซุงบลูวิงส์ | [35] | |
รอบก่อนรองชนะเลิศ – ตะวันตก | ซุลตัน อัล-กานัม | อัล-นัสเซอร์ | [36] | |
รอบรองชนะเลิศ – ตะวันออก | ไดยะ มาเอกาวะ | วิสเซล โคเบะ | [37] | |
รอบรองชนะเลิศ – ตะวันตก | โชจา' คะลิลซาเดห์ | เพร์โพลีส | [38] |
ผู้สนับสนุน
แก้- Allianz
- Emirates FLY BETTER
- KARCHER
- Nikon
- QNB
- TSINGTAO
- TOYOTA
- CESTBON
- SEIKO
- MOLTEN
- KONAMI
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 "Al Nassr's Abderrazak Hamdallah wins 2020 AFC Champions League Top Scorer award". Asian Football Confederation. 19 December 2020.
- ↑ 2.0 2.1 "Ulsan Hyundai's Yoon Bit-garam named 2020 AFC Champions League MVP". Asian Football Confederation. 19 December 2020.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "2020 AFC Champions League Competition Regulations". Asian Football Confederation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-31. สืบค้นเมื่อ 2019-12-24.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Entry Manual: AFC Club Competitions 2017–2020". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-08-26. สืบค้นเมื่อ 2019-12-24.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "AFC Club Competitions Ranking (as of 15 December 2017)" (PDF). AFC.
- ↑ "AFC Club Competitions Ranking Mechanics (2017 version)". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-10-12. สืบค้นเมื่อ 2019-12-27.
- ↑ "List of Licensed Clubs for AFC Champions League 2020". Asian Football Confederation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-02-05. สืบค้นเมื่อ 2019-12-27.
- ↑ "SỐC: Hà Nội FC mất suất tham dự AFC Champions League 2020 và AFC Cup 2020" (ภาษาเวียดนาม). Fox Sports Vietnam. 8 October 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-25. สืบค้นเมื่อ 2019-12-27.
- ↑ "AFC Competitions Calendar 2020". AFC. 4 April 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-06. สืบค้นเมื่อ 2019-12-24.
- ↑ "Uzbekistan, Bahrain recommended as hosts for 2020 AFC U-19 & U-16 Championships". AFC. 17 September 2019.
- ↑ "Al Wahda unable to travel to AFC Champions League (West)". Asian Football Confederation. 10 September 2020.
- ↑ "AFC COVID-19 Sub Committee's decision on Al Wahda". Asian Football Confederation. 14 September 2020.
- ↑ "Al Hilal - Update on AFC Champions League". Asian Football Confederation. 23 September 2020.
- ↑ "Johor Darul Ta'zim forced out of Asian Champions League after Malaysia refuses to lift travel restrictions". ESPN. 11 November 2020.
- ↑ "Latest update on AFC Champions League 2020". Asian Football Confederation. 13 November 2020.
- ↑ 16.0 16.1 "AFC Champions League (West): Quarter-finalists confirmed". AFC. 27 September 2020.
- ↑ 17.0 17.1 "AFC Champions League (West): Quarter-finals decided". AFC. 28 September 2020.
- ↑ 18.0 18.1 "2020 AFC Champions League (East): Quarter-final cast finalised". AFC. 7 December 2020.
- ↑ 19.0 19.1 "Epic clashes ahead following 2020 AFC Champions League (East) knockout stage draw". AFC. 8 December 2020.
- ↑ "AFC Champions League Final to be played in Doha, Qatar". AFC. 16 October 2020.
- ↑ "ACL2020 MD1 Toyota Player of the Week: Keijiro Ogawa". Asian Football Confederation. 14 February 2020.
- ↑ "ACL2020 MD2 Toyota Player of the Week: Teruhito Nakagawa". Asian Football Confederation. 21 February 2020.
- ↑ "AFC Champions League (EAST) Toyota Player of the Week: Li Shenglong". Asian Football Confederation. 25 November 2020.
- ↑ "ACL2020 Toyota Player of the Week: Terry Antonis". Asian Football Confederation. 6 March 2020.
- ↑ "AFC Champions League (EAST) Toyota Player of the Week: Song Beom-keun". Asian Football Confederation. 28 November 2020.
- ↑ "ACL2020 MD3 (WEST) Toyota Player of the Week: Abderrazak Hamdallah". Asian Football Confederation. 17 September 2020.
- ↑ "AFC Champions League (EAST) Toyota Player of the Week: Bill". Asian Football Confederation. 1 December 2020.
- ↑ "AFC Champions League MD4 (WEST) Toyota Player of the Week: Khaled Bawazir". Asian Football Confederation. 21 September 2020.
- ↑ "AFC Champions League (EAST) Toyota Player of the Week: Theerathon Bunmathan". Asian Football Confederation. 4 December 2020.
- ↑ "AFC Champions League MD5 (WEST) Toyota Player of the Week: Caio". Asian Football Confederation. 24 September 2020.
- ↑ "AFC Champions League (EAST) Toyota Player of the Week: Daiki Niwa". Asian Football Confederation. 7 December 2020.
- ↑ "AFC Champions League MD6 (WEST) Toyota Player of the Week: Mehdi Ghaedi". Asian Football Confederation. 27 September 2020.
- ↑ "AFC Champions League (EAST) Toyota Player of the Week: Kim Tae-hwan". Asian Football Confederation. 10 December 2020.
- ↑ "AFC Champions League Round of 16 (WEST) Toyota Player of the Week: Isa Al Kasir". Asian Football Confederation. 30 September 2020.
- ↑ "AFC Champions League (EAST) Toyota Player of the Week: Park Sang-hyeok". Asian Football Confederation. 13 December 2020.
- ↑ "AFC Champions League Quarter-finals (WEST) Toyota Player of the Week: Sultan Al Ghannam". Asian Football Confederation. 3 October 2020.
- ↑ "AFC Champions League Semi-final (EAST) AFC Champions League (EAST) Toyota Player of the Week: Daiya Maekawa". Asian Football Confederation. 6 October 2020.
- ↑ "AFC Champions League Semi-final (WEST) Toyota Player of the Week: Shojae Khalilzadeh". Asian Football Confederation. 6 October 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- AFC Champions League, the-AFC.com
- AFC Champions League 2020, stats.the-AFC.com