ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563–64

(เปลี่ยนทางจาก ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563)

ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563–64 หรือ เอ็ม–150 เดอะแชมเปียนชิป ฤดูกาล 2563–64 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือโอสถสภา เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก 2 ฤดูกาลที่ 23 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสองของประเทศไทย โดยจะมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 18 สโมสร แข่งขันแบบพบกันหมดในระบบเหย้า-เยือน สโมสรที่ได้ 2 อันดับแรกจะได้เลื่อนชั้นไปเล่นในไทยลีกโดยอัตโนมัติ และทีมอันดับ 3-6 จะได้สิทธิ์เตะเพลย์ออฟ เพื่อหาแชมป์เพลย์ออฟขึ้นไปเล่นในไทยลีกอีก 1 ทีม ในฤดูกาลถัดไป ในขณะที่สโมสรที่ได้ 3 อันดับสุดท้ายจะต้องตกชั้นลงไปแข่งขันในไทยลีก 3 ในฤดูกาลถัดไป

ไทยลีก 2
ฤดูกาล2563–64
วันที่14 กุมภาพันธ์ 2563 — 31 มีนาคม 2564
ทีมชนะเลิศหนองบัว พิชญ
เลื่อนชั้นหนองบัว พิชญ
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
ขอนแก่น ยูไนเต็ด
ตกชั้นศรีสะเกษ
อุทัยธานี
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร
จำนวนนัด306
จำนวนประตู840 (2.75 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล เปาโล คอนราโด้
(25 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
7 ประตู
อุดรธานี 7–0 ไทยยูเนียน สมุทรสาคร
(10 มีนาคม 2564)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
6 ประตู
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร 0–6 ระนอง ยูไนเต็ด
(10 กุมภาพันธ์ 2564)
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร 1–7 ลำปาง
(20 มีนาคม 2564)
จำนวนประตูสูงสุด7 ประตู
อยุธยา ยูไนเต็ด 3–4 ราชนาวี
(16 กุมภาพันธ์ 2563)
นครปฐม ยูไนเต็ด 4–3 อุดรธานี
(29 พฤศจิกายน 2563)
ลำปาง 4–3 ศรีสะเกษ
(19 ธันวาคม 2563)
อุดรธานี 7–0 ไทยยูเนียน สมุทรสาคร
(10 มีนาคม 2564)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
หนองบัว พิชญ
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
32 นัด
หนองบัว พิชญ
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
15 นัด
อุทัยธานี
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
12 นัด
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร
จำนวนผู้ชมสูงสุด5,218
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 2–1 ลำปาง
(16 กุมภาพันธ์ 2563)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0
จำนวนผู้ชมรวม249,625
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย1,071
2562
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 31 มีนาคม 2564

การเปลี่ยนแปลงสโมสรจากฤดูกาลที่แล้ว แก้

หลังสิ้นสุดการแข่งขันฤดูกาล 2562 มีสโมสรฟุตบอลที่ประกาศถอนตัวไม่ส่งทีมเข้าแข่งขันในฤดูกาล 2563–64 จำนวน 3 สโมสร ได้แก่ พีทีที ระยองในไทยลีก ไทยฮอนด้า[1]และอาร์มี่ ยูไนเต็ด[2]ในไทยลีก 2 เนื่องจากสมาคมฟุตบอลฯ ต้องการคงจำนวนทีมที่เข้าแข่งขันในไทยลีก (16 ทีม) และไทยลีก 2 (18 ทีม) ในฤดูกาล 2563–64 ด้วยเหตุผลด้านการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ ทำให้สุพรรณบุรีซึ่งจบฤดูกาลได้อันดับที่ 14 ในไทยลีกยังคงได้สิทธิแข่งขันในไทยลีกต่อไปร่วมกับบีจี ปทุม ยูไนเต็ด, โปลิศ เทโร และระยองซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นไป ในขณะที่ชัยนาท ฮอร์นบิลและเชียงใหม่ตกชั้นลงมาแข่งขันในไทยลีก 2 ส่วนสโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก 2 เดิมมีจำนวน 3 สโมสรได้แก่ ราชนาวี, อุบล ยูไนเต็ด และอยุธยา ยูไนเต็ด แต่เนื่องจากจำนวนทีมในไทยลีก 2 ขาดไป 2 ทีม ทำให้ราชนาวีได้สิทธิแข่งขันต่อไปเป็นทีมแรก ส่วนทีมที่สองได้แก่อยุธยา ยูไนเต็ดเนื่องจากอุบล ยูไนเต็ด ที่จบฤดูกาลได้อันดับดีกว่าไม่ผ่านเกณฑ์คลับไลเซนซิง และถูกปรับตกชั้นลงไปแข่งขันไทยลีก 4[1]

ต่อมาในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 พลเอกอภิรัชต์ คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารบก และประธานอาร์มี่ ยูไนเต็ด ได้ประกาศยุบสโมสรเนื่องจากไม่ประสบความสำเร็จ สมาคมฟุตบอลฯ จึงตัดสินให้แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ได้เลื่อนชั้นขึ้นมาแข่งขันเป็นทีมที่ 4 ต่อจาก ขอนแก่น ยูไนเต็ด และ นครปฐม ยูไนเต็ด ซึ่งชนะเลิศจากแต่ละโซน และ แพร่ ยูไนเต็ด ซึ่งเพลย์ออฟชนะระนอง ยูไนเต็ด[2] และเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ทางแอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ได้แจ้งว่ามีการขายสิทธิ์การทำทีมให้กับ นายชาดา ไทยเศรษฐ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.อุทัยธานี สังกัดพรรคภูมิใจไทย และเปลี่ยนชื่อสโมสรเป็น อุทัยธานี[3]

เข้าสู่ไทยลีก 2 แก้

ตกชั้นจาก ไทยลีก
เลื่อนชั้นจาก ไทยลีก 3

ออกจากไทยลีก 2 แก้

เลื่อนชั้นสู่ ไทยลีก 1
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 4
ถอนทีม

สโมสร แก้

ที่ตั้งของสโมสรจากกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในการแข่งขันไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563–64

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2563–64 มีจำนวน 18 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2562 จำนวน 12 สโมสร สโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก ฤดูกาล 2562 จำนวน 2 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยลีก 3 ฤดูกาล 2562 จำนวน 4 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว แก้

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2562
เกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร (จตุจักร) สนามกีฬาอินทรีจันทรสถิตย์ 3,275 12
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ระนอง สนามกีฬากลางจังหวัดระนอง 7,000 4 (ไทยลีก 3)
ขอนแก่น ขอนแก่น สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น 7,000 8
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ขอนแก่น สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 6,500 1 (ไทยลีก3)
ชัยนาท ฮอร์นบิล ชัยนาท เขาพลองสเตเดียม 8,625 15 (ไทยลีก)
เชียงใหม่ เชียงใหม่ สนามกีฬาเทศบาลนครเชียงใหม่ 5,000 16 (ไทยลีก)
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด เชียงใหม่ สนามกีฬากลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (ดอยสะเก็ด) 2,000 11
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร สมุทรสาคร สนามกีฬาจังหวัดสมุทรสาคร 3,500 13
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 6,000 2 (ไทยลีก3)
แพร่ ยูไนเต็ด แพร่ ห้วยม้าสเตเดียม 4,500 3 (ไทยลีก3)
ราชนาวี ชลบุรี (สัตหีบ) สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ 5,000 16
ลำปาง ลำปาง สนามกีฬากลางจังหวัดลำปาง 5,500 10
ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ สนามกีฬาศรีนครลำดวน 10,000 4
หนองบัว พิชญ หนองบัวลำภู พิชญสเตเดียม 10,000 9
อยุธยา ยูไนเต็ด พระนครศรีอยุธยา สนามกีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6,000 18
อุดรธานี อุดรธานี สนามกีฬากกท.จังหวัดอุดรธานี 10,000 7
อุทัยธานี อุทัยธานี สนามกีฬากลางจังหวัดอุทัยธานี 4,477 14
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด สมุทรปราการ (บางพลี) สนามกีฬาลาดกระบัง 54 2,000 15
หมายเหตุ

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน แก้

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
เกษตรศาสตร์   พนิพล เกิดแย้ม   เซยะ โคจิมะ เวอร์ซุส ไก่ย่างตะนาวศรี
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด   ดาเมียน เบลลอง   วิชญะ แก่นทอง ยูเรก้า พีที, ลีโอ, แอร์เอเชีย
ขอนแก่น   พิเชษฐ์ สุโพธิ์เมือง   อนุพันธุ์ เกิดสมพงษ์ ชุดผลิตเอง ลีโอเบียร์, อบจ.ขอนแก่น
ขอนแก่น ยูไนเต็ด   ปฏิภัทร รอบรู้   ดักลาส โคโบ โอเซล ลีโอเบียร์, เมืองเอกขอนแก่น
ชัยนาท ฮอร์นบิล   โรนัลด์ โบเน็ตติ   ปริญญา อู่ตะเภา วอริกซ์ วังขนาย, ลีโอ2, ดูคาติ2
เชียงใหม่   อำนาจ แก้วเขียว   สุวรรณภัทร กิ่งแก้ว ชุดผลิตเอง ลีโอ, บางกอกแอร์เวย์1, เมืองไทยประกันชีวิต2
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด   เดนนิส อามาโต   ณัฐพงษ์ สมณะ โวลต์ มูส
นครปฐม ยูไนเต็ด   ธงชัย สุขโกกี   โชคชัย ชูชัย ชุดผลิตเอง เบียร์ช้าง, เทพผดุงพรมะพร้าว
แพร่ ยูไนเต็ด   อานนท์ บรรดาศักดิ์   รัฐพล อัฐวงศ์ แกรนด์สปอร์ต สามารถเทลคอม
ราชนาวี   เฉลิมวุฒิ สง่าพล   ชุษณะ นัมคณิสร เวอร์ซุส ช้าง
ลำปาง   วีรยุทธ์ บินอับดุลเลาะมาน   เกฟิน บรันส์ ชุดผลิตเอง บางกอก แอร์เวย์
ศรีสะเกษ   วรวุฒิ ศรีมะฆะ   ฮิโรมิชิ คาตาโนะ วอริกซ์ เมืองไทย
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร   ดราแกน ดูเยวิช   นพพล ผลอุดม โอกาเนะ ไทยยูเนียน
หนองบัว พิชญ   สมชาย ชวยบุญชุม   กิตติคุณ แจ่มสุวรรณ วอริกซ์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต
อยุธยา ยูไนเต็ด   สันติ ไชยเผือก   ดัสกร ทองเหลา พีแกน กัลฟ์, เบียร์ช้าง, อบจ.พระนครศรีอยุธยา
อุดรธานี   ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย   ประกิต ดีพร้อม เวอร์ซุส ลีโอเบียร์
อุทัยธานี   วรชัย สุรินทร์ศิริรัฐ   สุชนม์ สงวนดี ออก้า (เลกเเรก),ยูเรก้า (เลกสอง) พรรณงาม
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด   สันติ ทรงเต๊ะ   มงคลชัย กองจำปา เอพีดี สปอร์ต เน็กซ์
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้งและอัตลักษณ์ แก้

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม แก้

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ชัยนาท ฮอร์นบิล   เดนนิส อามาโต ลาออก ตุลาคม 2562 ก่อนเปิดฤดูกาล   โรนัลด์ โบเน็ตติ พฤศจิกายน 2562
ขอนแก่น ยูไนเต็ด   ปฏิภัทร รอบรู้ หมดสัญญา   ซูงาโอะ คัมเบะ
เชียงใหม่   สุรพงษ์ คงเทพ   วรวุฒิ วังสวัสดิ์
ศรีสะเกษ   สมชาย ชวยบุญชุม   วรชัย สุรินทร์ศิริรัฐ
หนองบัว พิชญ   แมตต์ ฮอลแลนด์   สมชาย ชวยบุญชุม
เกษตรศาสตร์   วรวุฒิ ศรีมะฆะ   สมเด็จ หิตเทศ มกราคม 2563
ศุลกากร ยูไนเต็ด   สมเด็จ หิตเทศ   วรวุฒิ ศรีมะฆะ พฤศจิกายน 2562
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด   นราศักดิ์ บุญเกลี้ยง   ธนเสฏฐ์ อมรสินกิตติโชติ
ขอนแก่น   มาซายูกิ มิอูระ   ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย ธันวาคม 2562
ราชนาวี   วิริยะ เผ่าพันธุ์   เฉลิมวุฒิ สง่าพล
อยุธยา ยูไนเต็ด   พัฒนพงษ์ ศรีปราโมช   สันติ ไชยเผือก
เชียงใหม่   วรวุฒิ วังสวัสดิ์ ธันวาคม 2562   อำนาจ แก้วเขียว
ลำปาง   เซอร์จาน ทราอิโลวิช มกราคม 2563   อรรถกร แสนเพ็ง มกราคม 2563
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด   สุรชัย จิระศิริโชติ   การ์ลุส เอดูอาร์ดู เปย์ไรรา
ลำปาง   อรรถกร แสนเพ็ง ไล่ออก มีนาคม 2563 อันดับที่ 14   ประเสริฐ ช้างมูล มีนาคม 2563
ขอนแก่น   ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย พฤษภาคม 2563 อันดับที่ 16   จักรกริช บุญคำ พฤษภาคม 2563
เกษตรศาสตร์   สมเด็จ หิตเทศ แยกทาง กรกฎาคม 2563 อันดับที่ 12   วริศ บุญศรีพิทยานนท์ กรกฎาคม 2563
ลำปาง   ประเสริฐ ช้างมูล ปรับโครงสร้าง อันดับที่ 14   ชวภณ กมลศิลป์
ศรีสะเกษ   วรชัย สุรินทร์ศิริรัฐ แยกทาง สิงหาคม 2563 อันดับที่ 8   ชูศักดิ์ ศรีภูมิ สิงหาคม 2563
อุดรธานี   จักรราช โทนหงษา ปรับโครงสร้าง อันดับที่ 13   เจษฎา จิตสวัสดิ์
อุทัยธานี   ธนเสฏฐ์ อมรสินกิตติโชติ ลาออก กันยายน 2563 อันดับที่ 18   เทิดศักดิ์ ใจมั่น กันยายน 2563
ศรีสะเกษ   ชูศักดิ์ ศรีภูมิ อันดับที่ 15   ปรีดา จันครา ตุลาคม 2563
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด   การ์ลุส เอดูอาร์ดู เปย์ไรรา แยกทาง ตุลาคม 2563 อันดับที่ 3   เดนนิส อามาโต พฤศจิกายน 2563
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด   วรวุฒิ ศรีมะฆะ ลาออก พฤศจิกายน 2563 อันดับที่ 13   สันติ ทรงเต๊ะ
ลำปาง   ชวภณ กมลศิลป์ ปรับโครงสร้าง อันดับที่ 13   สมชาย มากมูล
ขอนแก่น   จักรกริช บุญคำ อันดับที่ 15   พิเชษฐ์ สุโพธิ์เมือง
อุทัยธานี   เทิดศักดิ์ ใจมั่น ปรับโครงสร้าง ธันวาคม 2563 อันดับที่ 17   มาซายูกิ มิอูระ ธันวาคม 2563
ศรีสะเกษ   ปรีดา จันครา สิ้นสุดการรักษาการ อันดับที่ 16   วรวุฒิ ศรีมะฆะ
อุดรธานี   พนิพล เกิดแย้ม อันดับที่ 14   เยิร์ค สเตนบรุนเนอร์
ลำปาง   สมชาย มากมูล มกราคม 2564 อันดับที่ 9   วีรยุทธ์ บินอับดุลเลาะมาน มกราคม 2564
อุดรธานี   เยิร์ค สเตนบรุนเนอร์ แยกทาง กุมภาพันธ์ 2564 อันดับที่ 14   ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย กุมภาพันธ์ 2564
เกษตรศาสตร์   วริศ บุญศรีพิทยานนท์ อันดับ 10   พนิพล เกิดแย้ม
อุทัยธานี   มาซายูกิ มิอูระ แยกทาง มีนาคม 2564 อันดับที่ 17   วรชัย สุรินทร์ศิริรัฐ มีนาคม 2564
ขอนแก่น ยูไนเต็ด   ซูงาโอะ คัมเบะ อันดับที่ 2   ปฏิภัทร รอบรู้

ผลการแข่งขัน แก้

เหย้า / เยือน 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15 16 17 18
เกษตรศาสตร์ (01) 1–0 0–1 0–1 1–1 1–2 3–3 5–0 0–1 1–0 2–0 1–0 1–0 0–3 1–1 2–1 1–0 3–1
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด (02) 3–2 2–1 1–2 1–0 1–2 1–1 2–1 0–1 2–1 2–1 2–1 1–0 0–1 2–0 3–2 0–1 1–3
ขอนแก่น (03) 1–0 1–2 3–3 2–1 4–1 0–0 4–1 1–2 0–0 2–3 1–0 1–2 0–1 1–3 1–3 1–0 0–1
ขอนแก่น ยูไนเต็ด (04) 4–1 1–0 1–1 3–0 0–0 4–1 3–0 0–1 1–2 2–0 2–1 0–1 1–3 3–0 2–1 4–1 3–1
ชัยนาท ฮอร์นบิล (05) 2–0 4–1 2–0 1–1 3–1 3–1 7–1 3–3 1–0 2–1 1–2 2–0 1–1 2–0 2–2 1–1 4–2
เชียงใหม่ (06) 5–0 2–2 1–1 1–0 5–0 1–1 3–1 2–1 1–0 1–1 2–0 2–1 0–5 1–0 1–3 3–0 4–1
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด (07) 3–0 2–0 1–0 1–0 3–0 0–0 2–1 1–0 2–2 4–1 3–0 1–0 0–0 0–1 6–0 1–0 5–0
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร (08) 1–4 0–6 2–0 2–4 2–2 2–2 1–5 1–3 0–2 1–1 1–7 1–1 0–3 1–4 2–5 0–4 0–3
นครปฐม ยูไนเต็ด (09) 5–1 0–1 1–1 4–0 1–2 2–0 3–2 6–0 0–0 4–2 2–2 3–1 0–0 1–1 4–3 4–2 3–0
แพร่ ยูไนเต็ด (10) 2–0 1–1 1–0 2–0 2–1 1–3 2–2 4–0 2–0 1–1 3–0 2–2 0–1 2–0 0–0 1–1 4–1
ราชนาวี (11) 1–0 2–0 0–1 0–2 0–1 2–2 0–1 4–0 0–0 1–2 1–0 2–4 0–1 2–3 3–2 3–1 4–1
ลำปาง (12) 2–1 0–1 0–0 3–0 1–1 1–0 3–1 3–1 0–3 0–1 1–2 4–3 0–3 1–1 0–0 1–0 0–1
ศรีสะเกษ (13) 2–2 1–0 0–1 0–0 1–3 2–0 2–3 0–1 0–0 0–0 2–1 3–0 0–0 0–2 1–1 2–1 0–1
หนองบัว พิชญ (14) 3–0 0–0 1–0 3–1 1–0 4–1 0–0 5–1 2–2 3–2 1–2 1–1 4–0 1–1 1–0 1–0 6–0
อยุธยา ยูไนเต็ด (15) 2–1 3–1 1–2 0–1 2–0 3–2 0–1 3–0 1–1 0–2 3–4 1–2 2–1 1–1 2–1 0–1 2–2
อุดรธานี (16) 0–0 0–2 1–0 1–1 0–2 2–0 0–2 7–0 2–1 0–2 0–0 1–1 0–0 1–1 0–1 1–1 2–0
อุทัยธานี (17) 0–1 1–1 0–1 1–3 3–3 0–2 0–4 5–0 3–2 1–2 2–2 0–2 0–1 0–0 2–2 1–2 0–0
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด (18) 2–0 2–3 1–1 0–3 2–3 0–3 0–1 0–0 0–2 1–1 2–0 2–0 2–1 1–2 2–0 1–0 1–1
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 31 มีนาคม 2564. ที่มา: ไทยลีก 2
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ
อักษร "a" สำหรับการแข่งขันที่ยังไม่เกิดขึ้นหมายความว่ามีบทความเกี่ยวกับการแข่งขันนัดนี้

ตารางคะแนน แก้

อันดับ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การเลื่อนชั้นหรือการตกชั้น
1 หนองบัว พิชญ (C, P) 34 21 12 1 63 16 +47 75 เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก ฤดูกาล 2564–65
2 เชียงใหม่ ยูไนเต็ด (P) 34 20 9 5 64 28 +36 69
3 นครปฐม ยูไนเต็ด 34 17 10 7 66 36 +30 61 ผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟ
4 ขอนแก่น ยูไนเต็ด (P) 34 18 6 10 56 37 +19 60
5 แพร่ ยูไนเต็ด 34 16 11 7 49 27 +22 59
6 ชัยนาท ฮอร์นบิล 34 16 9 9 61 47 +14 57
7 เชียงใหม่ 34 16 8 10 56 45 +11 56
8 แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 34 16 5 13 45 39 +6 53
9 อยุธยา ยูไนเต็ด 34 13 8 13 46 45 +1 47
10 ขอนแก่น 34 11 8 15 34 38 −4 41
11 ราชนาวี 34 11 7 16 47 53 −6 40
12 ลำปาง 34 11 7 16 39 46 −7 40
13 เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด 34 11 6 17 37 62 −25 39
14 เกษตรศาสตร์ 34 11 5 18 34 53 −19 38
15 อุดรธานี 34 9 11 14 44 46 −2 38
16 ศรีสะเกษ (R) 34 9 9 16 34 44 −10 36 ตกชั้นสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2564–65
17 อุทัยธานี (R) 34 5 10 19 34 53 −19 25
18 ไทยยูเนียน สมุทรสาคร (R) 34 2 5 27 25 119 −94 11
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 มีนาคม 2564. แหล่งที่มา : ไทยลีก 2
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล: 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. จำนวนประตูได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสียของมินิลีก 4. จำนวนประตูได้ของมินิลีก 5. ผลต่างประตูได้-เสียทั้งหมด 6. จำนวนประตูได้ทั้งหมด 7. คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8. เพลย์ออฟ[7]
(C) ชนะเลิศ; (P) เลื่อนชั้น; (R) ตกชั้น.


อันดับของสโมสรในแต่ละสัปดาห์ แก้

ทีม / สัปดาห์12345678910111213141516171819202122232425262728293031323334
หนองบัว พิชญ1331131221111111111111111111111111
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด5212222112223433233344333322222222
นครปฐม ยูไนเต็ด15810118108988555324566666655564433343
ขอนแก่น ยูไนเต็ด3135797663332252322222222233345434
แพร่ ยูไนเต็ด16966314345766565444433444445664565
ชัยนาท ฮอร์นบิล41091055581091010101088888988888787777656
เชียงใหม่71474686434444647755555566656556777
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด171712996107586778101012121312131111109999988888
อยุธยา ยูไนเต็ด13181818151515141111999776677777777878899999
ขอนแก่น9121616171818171716151616151515151515151515151514141311101210101010
ราชนาวี244344357688899911111089910910101010121011111111
ลำปาง1416111413131212910111313121111999101113131312131414141414121312
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด10687101211111412121514131212131012111210121213121112111313141513
เกษตรศาสตร์187131214141413151314111211131410131113101291111111213131112131214
อุดรธานี111114131279101315161211141413141414141414141415151615151616151615
ศรีสะเกษ6558111113151214131415161616161616161616161616161516161515161416
อุทัยธานี12131715161717181818181818181818171717171717171717171717171717171717
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร8151517181616161617171717171717181818181818181818181818181818181818
ชนะเลิศและเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก
รองชนะเลิศและเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก
เข้ารอบเพลย์ออฟเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก
ตกชั้นสู่ไทยลีก 3
การแข่งขันจะเริ่มขึ้นในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 อ้างอิง: ไทยลีก 2

รอบเพลย์ออฟ แก้

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                         
5  แพร่ ยูไนเต็ด 1 1 2  
4  ขอนแก่น ยูไนเต็ด 3 2 5  
     ขอนแก่น ยูไนเต็ด () 2 1 3 (4)
   นครปฐม ยูไนเต็ด 1 2 3 (3)
6  ชัยนาท ฮอร์นบิล 1 0 1
3  นครปฐม ยูไนเต็ด 2 2 4  

รอบรองชนะเลิศ แก้

เลกแรก

ชัยนาท ฮอร์นบิล1–2นครปฐม ยูไนเต็ด
วรายุทธ กล่อมนาค   21' รายงาน
ไฮไลต์
Hamed Latif Bakhtiari   18'
Lesley Ablorh   88'
ผู้ชม: 1,952 คน
ผู้ตัดสิน: วินัด โพธิ์พัฒน์
แพร่ ยูไนเต็ด1–3ขอนแก่น ยูไนเต็ด
Mark Lester Blanco   78' รายงาน
ไฮไลต์
ลักษณะ คำรื่น   31'
Douglas Cobo   53'
พลากร วอกลาง   70'
ห้วยม้าสเตเดียม, จังหวัดแพร่
ผู้ชม: 1,102 คน
ผู้ตัดสิน: อธิวัฒน์ สีลาโล้

เลกที่สอง

นครปฐม ยูไนเต็ด2–0ชัยนาท ฮอร์นบิล
Ferreira Dos Santos   42' (ลูกโทษ)
Osvaldo Nascimento Dos Santos Neto   47'
รายงาน
ไฮไลต์
สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม, จังหวัดนครปฐม
ผู้ชม: 0 คน[8]
ผู้ตัดสิน: ไพโรจน์ บุญกำเนิด

รวมผลสองนัด นครปฐม ยูไนเต็ด ชนะ 4–1

ขอนแก่น ยูไนเต็ด2–1แพร่ ยูไนเต็ด
อลงกรณ์ จรนาทอง   88'
Badar Ali Rashid Ali Al Alawi   90+3'
รายงาน
ไฮไลต์
Mark Lester Blanco Pineda   26'
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น, จังหวัดขอนแก่น
ผู้ชม: 0 คน[9]
ผู้ตัดสิน: ไพศาล เบ็ญเค็มอะหลี

รวมผลสองนัด ขอนแก่น ยูไนเต็ด ชนะ 5–2

รอบชิงชนะเลิศ แก้

คู่ชิงชนะเลิศในรอบเพลย์ออฟฤดูกาลนี้เป็นคู่เดียวกับคู่ชิงชนะเลิศไทยลีก 4 ฤดูกาล 2561 และไทยลีก 3 ฤดูกาล 2562 โดยในฤดูกาล 2561 นครปฐม ยูไนเต็ดเป็นฝ่ายชนะด้วยผลประตูรวม 5–4 อย่างไรก็ตาม ในฤดูกาล 2562 ขอนแก่น ยูไนเต็ดกลับมาเอาชนะได้ด้วยผลประตูรวม 4–2

เลกแรก

ขอนแก่น ยูไนเต็ด2–1นครปฐม ยูไนเต็ด
ชิษณุพงษ์ โชติ   45'
Badar Ali Rashid Ali Al Alawi   90+1'
รายงาน
ไฮไลต์
Lesley Ablorh   13' (ลูกโทษ)
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น, จังหวัดขอนแก่น
ผู้ชม: 0 คน[10]
ผู้ตัดสิน: วิวรรธน์ จำปาอ่อน

เลกที่สอง

นครปฐม ยูไนเต็ด2–1 (ต่อเวลาพิเศษ)ขอนแก่น ยูไนเต็ด
Hamed Bakhtiari   83'
Phoutthasay Khochalern   90'
รายงาน
ไฮไลต์
Paulo Conrado   65' (ลูกโทษ)
ลูกโทษ
Phoutthasay Khochalern  
วัชรพล ช่างกลึงเหมาะ  
ณัฐพล วรสุทธิ์  
Leslie Ablorh  
ธีรยุทธ งามละม้าย  
3–4   Douglas Cobo
  ปิยะวิทย์ จันพุทธ
  พลากร วอกลาง
  ณัฐพล ทับถนน
  วรากร ทองใบ
สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม, จังหวัดนครปฐม
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: วรินทร สัสดี

รวมผลสองนัด เสมอกัน 3–3 และขอนแก่น ยูไนเต็ดชนะการยิงลูกโทษ 4–3 เลื่อนชั้นสู่ไทยลีกได้สำเร็จ

สถิติ แก้

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564

การทำประตู แก้

ผู้ทำประตูสูงสุด แก้

อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1   เปาโล คอนราโด้ ขอนแก่น ยูไนเต็ด 25
2   เฟอร์เรร่า ดอส ซานโตส นครปฐม ยูไนเต็ด 23
3   ยู บย็อง-ซู ศุลกากร ยูไนเต็ด (2 ประตู)
อยุธยา ยูไนเต็ด (20 ประตู)
22
4   เมลวิน เดอ ลูว์ เชียงใหม่ ยูไนเต็ด 17
5   เรียว มัตสึมูระ เชียงใหม่ 16
6   วัลโดมิโร ซัวเรส หนองบัว พิชญ 14
7   จิรพันธ์ ผาสุขขันธ์ นครปฐม ยูไนเต็ด 13
 วู กึน ยอง เชียงใหม่ ยูไนเต็ด
9  เซยะ ซูงิชิตะ ขอนแก่น 12
 เยฟเกนี คาบาเยฟ ศรีสะเกษ
 ออสวัลโด้ เนโต้ นครปฐม ยูไนเต็ด
11   เวลลิงตัน สมิธ แพร่ ยูไนเต็ด 11
  วรายุทธ กล่อมนาค ไทยยูเนียน สมุทรสาคร (2 ประตู)
ชัยนาท ฮอร์นบิล (8 ประตู)
  เอรีแวลตู ราชนาวี (8 ประตู)
ชัยนาท ฮอร์นบิล (3 ประตู)

แฮตทริก แก้

ผู้เล่น สโมสร พบกับทีม ผล วันที่
  ฌาร์เดล คาปิสตราโน อุทัยธานี ชัยนาท ฮอร์นบิล 3–3 (H) 1 มีนาคม 2020
  เปาโล คอนราโด้ ขอนแก่น ยูไนเต็ด ไทยยูเนียน สมุทรสาคร 4–2 (A) 20 กันยายน 2020
  เปาโล คอนราโด้ ขอนแก่น ยูไนเต็ด ขอนแก่น 3–3 (A) 3 ตุลาคม 2020
  ถวิล บุตรสมบัติ เชียงใหม่ ยูไนเต็ด อุดรธานี 6–0 (H) 4 ตุลาคม 2020
  • 4 ผู้เล่นที่ทำคนเดียว 4 ประตู

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "มิติใหม่ลูกหนังไทย! ส.บอล มีมติ อยุธยา ยู – นาวี ไม่ตกชั้น T2". supersubthailand.com. 23 พฤศจิกายน 2562. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "ตัวแทนอาร์มี่! ไทยลีก ยัน ระนอง เลื่อนขึ้นลีกพระรอง". supersubthailand.com. 13 ธันวาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  3. แอร์ฟอร์ซขายสิทธิ์ทำทีมเปลี่ยนชื่อเป็น อุทัยธานี เอฟซี
  4. "ต้อนรับปี 2020 !เจแอล เชียงใหม่ฯเปลี่ยนชื่อ "เชียงใหม่ ยูไนเต็ด"".
  5. "พยัคฆ์หวนใช้สนามเทศบาลฯ รังเหย้าปี 2020". supersubthailand.com. 17 ธันวาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. ไฟเขียวเกษตรฯกลับมาใช้รังเหย้าเดิม
  7. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 2" พ.ศ. 2562" (PDF). thaileague.co.th. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
  8. ป้องกันโควิด!ช้างเอฟเอคัพนัดชิง-เพลย์ออฟไทยลีก2เตะแบบปิด
  9. ป้องกันโควิด!ช้างเอฟเอคัพนัดชิง-เพลย์ออฟไทยลีก2เตะแบบปิด
  10. ป้องกันโควิด!ช้างเอฟเอคัพนัดชิง-เพลย์ออฟไทยลีก2เตะแบบปิด