พ.ศ. 2411
ปี
พุทธศักราช 2411 ตรงกับ
- 24 มีนาคม ค.ศ. 1868 - 12 มีนาคม ค.ศ. 1869 (นับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 เป็นวันขึ้นปีใหม่)
- ค.ศ. 1868 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน
- ค.ศ. 1869 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน
- ปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1230 (วันที่ 13 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
- มหาศักราช 1790
- รัตนโกสินทรศก 87
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2411 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1868 MDCCCLXVIII |
Ab urbe condita | 2621 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1317 ԹՎ ՌՅԺԷ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6618 |
ปฏิทินบาไฮ | 24–25 |
ปฏิทินเบงกอล | 1275 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2818 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 31 Vict. 1 – 32 Vict. 1 |
พุทธศักราช | 2412 |
ปฏิทินพม่า | 1230 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7376–7377 |
ปฏิทินจีน | 丁卯年 (เถาะธาตุไฟ) 4564 หรือ 4504 — ถึง — 戊辰年 (มะโรงธาตุดิน) 4565 หรือ 4505 |
ปฏิทินคอปติก | 1584–1585 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3034 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1860–1861 |
ปฏิทินฮีบรู | 5628–5629 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1924–1925 |
- ศกสมวัต | 1790–1791 |
- กลียุค | 4969–4970 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11868 |
ปฏิทินอิกโบ | 868–869 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1246–1247 |
ปฏิทินอิสลาม | 1284–1285 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเคโอ 4 / ศักราชเมจิ 1 (明治元年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 12 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4201 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 44 ก่อน ROC 民前44年 |
ผู้นำ
แก้- พระมหากษัตริย์:
- พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2394 - พ.ศ. 2411)
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453)
- กรมพระราชวังบวรสถานมงคล: กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่: พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ (พ.ศ. 2399 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2413)
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ (พ.ศ. 2386 - พ.ศ. 2414)
- เจ้าผู้ครองนครลำปาง: เจ้าวรญาณรังษี (พ.ศ. 2399 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2414)
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: เจ้าอนันตวรฤทธิเดช (14 พฤษภาคม พ.ศ. 2395 - 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2435)
- เจ้าผู้ครองนครแพร่: พระยาพิมพิสารราชา (พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2429)
- เจ้าประเทศราช:
- กรมพระราชวังบวรสถานมงคล: กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
- จักรพรรดิญี่ปุ่น: จักรพรรดิเมจิ (3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2410 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2455)
สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายนามผู้นำประเทศ พ.ศ. 2411
เหตุการณ์
แก้มกราคม-มีนาคม
แก้- 3 มกราคม - เจ้าชายมุตสึฮิโตะหรือจักรพรรดิเมจิซึ่งมีพระชนมายุ 15 พรรษา ประกาศ "การฟื้นฟูเมจิ" ซึ่งเป็นการฟื้นฟูพระราชอำนาจของพระองค์เอง ภายใต้อิทธิพลของผู้สนับสนุนจากแคว้นโชชูและแคว้นซัตสึมะ และต่อต้านผู้สนับสนุนรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ ก่อให้เกิดสงครามโบชิน[1][2]
- 10 มกราคม - โชกุน โทกูงาวะ โยชิโนบุประกาศว่าพระราชโองการของจักรพรรดิเมจิ "ผิดกฎหมาย" และเตรียมโจมตีเกียวโต
เมษายน-มิถุนายน
แก้- 11 เมษายน - ญี่ปุ่นยกเลิกระบอบโชกุน
- 16 พฤษภาคม - ประธานาธิบดี แอนดรูว์ แจ็กสัน ได้รับการตัดสินให้พ้นผิดอย่างฉิวเฉียด หลังถูกยื่นถอดถอนให้ออกจากตำแหน่ง
- 25 พฤษภาคม - เปิดคลองดำเนินสะดวก
กรกฎาคม-กันยายน
แก้- 17 สิงหาคม - หนานอินต๊ะเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ที่เชียงใหม่เป็นคนแรก
ตุลาคม-มีนาคม
แก้- 1 ตุลาคม - พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ
- 3 ตุลาคม - ไทยและอิตาลีลงนามสนธิสัญญาฉบับแรก คือ สนธิสัญญาว่าด้วยมิตรภาพ การพาณิชย์ และการเดินเรือ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของความสัมพันธ์ไทยและอิตาลี[3]
- 10 ตุลาคม - คิวบาประกาศเอกราชจากสเปน
- 11 พฤศจิกายน - พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- 25 พฤศจิกายน - บวรราชาภิเษกกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญขึ้นเป็นวังหน้าในสมัยรัชกาลที่ 5
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
แก้- 18 สิงหาคม - สุริยุปราคาเต็มดวง (เอเชียใต้ มหาสมุทรอินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)[4] มองเห็นได้ที่บ้านหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรพร้อมพระราชอาคันตุกะจากต่างประเทศ จนทรงได้รับเชื้อมาลาเรียเป็นเหตุให้เสด็จสวรรคตในวันที่ 1 ตุลาคม สุริยุปราคาครั้งนี้นำไปสู่การค้นพบฮีเลียม
วันเกิด
แก้- 28 มีนาคม - แมกซิม กอร์กี นักเขียนชาวรัสเซีย (ถึงแก่กรรม 18 มิถุนายน พ.ศ. 2479)
- 18 พฤษภาคม - จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย (สวรรคต 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461)
- 6 มิถุนายน - โรเบิร์ต ฟัลคอน สกอตต์ นักสำรวจชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 29 มีนาคม พ.ศ. 2455)
- 24 กรกฎาคม - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี พระราชธิดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (สิ้นพระชนม์ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447)
- 12 สิงหาคม - พระเจ้ากอนสตันดีโนสที่ 1 แห่งกรีซ
- 24 สิงหาคม - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพร้อมพงษ์อธิราช (สิ้นพระชนม์ 20 กันยายน พ.ศ. 2482)
- 9 พฤศจิกายน - มารี เดรสส์เลอร์ นักแสดง ดาราตลก ทั้งละครเวทีและภาพยนตร์ชาวแคนาดา-อเมริกัน (ถึงแก่กรรม 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2477)
วันถึงแก่กรรม
แก้- 1 มิถุนายน - เจมส์ บูแคนัน ประธานาธิบดีคนที่ 15 ของสหรัฐอเมริกา (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2334)
- 11 มิถุนายน - เจมส์ บรุค ทูตชาวอังกฤษ (เกิด 29 เมษายน พ.ศ. 2346)
- 30 พฤษภาคม - โอคิตะ โซจิ หัวหน้าหน่วยที่ 1 ของกลุ่มชินเซ็นกุมิ (เกิด 1 มิถุนายน ค.ศ. 1842 , 1844)
- 1 ตุลาคม - พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347)
- 8 มีนาคม (ค.ศ. 1869) - เอกเตอร์ แบร์ลิออส คีตกวีชาวฝรั่งเศส (เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2346)
อ้างอิง
แก้- ↑ Satow, Ernest (1921). A Diplomat in Japan: the inner history of the critical years in the evolution of Japan when the ports were opened and the monarchy restored. London: Seeley, Service.
- ↑ Jansen, Marius B. (2000). The Making of Modern Japan. Cambridge, Massachusetts: Harvard University Press. ISBN 9780674003347.
- ↑ ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐอิตาลี เก็บถาวร 2007-06-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กระทรวงการต่างประเทศ, สืบค้นวันที่ 29 ธันวาคม 2554
- ↑ Solar Eclipses: 1801 to 1900 เก็บถาวร 2008-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Fred Espenak/Jean Meeus, NASA/GSFC (อังกฤษ)
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ พ.ศ. 2411