ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 225 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 61 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดยในปีนี้ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ รวมถึงมีพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี และเกิดการทวีความรุนแรงของวิกฤตการทางการเมืองไทยในช่วงปี พ.ศ. 2548 - 2549 ซึ่งทำให้เกิดการรัฐประหารขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
ผู้นำ
แก้- พระมหากษัตริย์ : พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
- สยามมกุฎราชกุมาร: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขณะทรงดำรงพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร)
- นายกรัฐมนตรี:
- ทักษิณ ชินวัตร (ไทยรักไทย) (จนถึง 19 กันยายน)
- สนธิ บุญยรัตกลิน (รัฐประหาร, ผู้ใช้อำนาจ) (19 กันยายน – 1 ตุลาคม)
- สุรยุทธ์ จุลานนท์ (รัฐประหาร) (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม)
- คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง:
- คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (19 กันยายน – 1 ตุลาคม)
- คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (เริ่ม 1 ตุลาคม)
- หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยฯ: สนธิ บุญยรัตกลิน (19 กันยายน – 1 ตุลาคม)
- ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ: สนธิ บุญยรัตกลิน (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม)
- รัฐสภา: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (เริ่ม 11 ตุลาคม)
- ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ: มีชัย ฤชุพันธุ์ (แต่งตั้ง) (ตั้งแต่ 25 ตุลาคม)
- สภาผู้แทนราษฎร: ชุดที่ 22 (ถึง 24 กุมภาพันธ์)
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร: โภคิน พลกุล (ไทยรักไทย) (จนถึง 24 กุมภาพันธ์)
- วุฒิสภา:
- ประธานวุฒิสภา: สุชน ชาลีเครือ (อิสระ) (จนถึง 21 มีนาคม)
- ประธานศาลฎีกา:
- ชาญชัย ลิขิตจิตถะ (จนถึง 30 กันยายน)
- ปัญญา ถนอมรอด (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม)
เหตุการณ์
แก้มกราคม
แก้กุมภาพันธ์
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
มีนาคม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
เมษายน
แก้พฤษภาคม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
มิถุนายน
แก้- 9 มิถุนายน – พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
กรกฎาคม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
สิงหาคม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
กันยายน
แก้- 19 กันยายน – รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
- 28 กันยายน – ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ
ตุลาคม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
พฤศจิกายน
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
ธันวาคม
แก้ผู้เกิด
แก้มกราคม
แก้- 13 มกราคม – ภูริพล บุญสอน นักวิ่งระยะสั้น
มิถุนายน
แก้- 17 มิถุนายน
- ปานตะวัน ธิใจเย็น ฝาแฝดติดกันที่ผ่าตัดแยกแล้วรอดชีวิตคู่แรกของโลก
- ปาดวาด ธิใจเย็น ฝาแฝดติดกันที่ผ่าตัดแยกแล้วรอดชีวิตคู่แรกของโลก
ผู้เสียชีวิต
แก้กุมภาพันธ์
แก้- 12 กุมภาพันธ์ – อุดม อรุณรัตน์ นักดนตรีไทย (เกิด พ.ศ. 2478)
- 13 กุมภาพันธ์ – กนกพงศ์ สงสมพันธุ์ นักเขียนรางวัลซีไรต์ชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2509)
- 21 กุมภาพันธ์ – ทรงธรรม ปัญญาดี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย (เกิด พ.ศ. 2474)
- 24 กุมภาพันธ์ – พระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย) พระราชาคณะชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2465)
มีนาคม
แก้- 28 มีนาคม – โสภา สถาพร นักแสดงชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2490)
เมษายน
แก้- 5 เมษายน – อัครพล ธนะวิทวิลาศ ดีเจชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2514)
- 7 เมษายน – หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ องคมนตรี (เกิด พ.ศ. 2467)
- 8 เมษายน – แคล้ว นรปติ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น (เกิด พ.ศ. 2460)
- 13 เมษายน
- พระครูอดุลธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อกลั่น อคฺคธมฺโม) พระสงฆ์ชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2456)
- ธรรมนูญ ฤทธิมณี นักวิชาการชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2478)
- 18 เมษายน – ตุ่น โกศัลวิตร ท่านผู้หญิงชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2453)
พฤษภาคม
แก้- 16 พฤษภาคม – ประยูร กาญจนดุล อดีตปลัดกระทรวงเศรษฐการ (เกิด พ.ศ. 2454)
- 20 พฤษภาคม – เชิด ทรงศรี นักแสดงชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2474)
- 27 พฤษภาคม – กอบกุล นพอมรบดี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี (เกิด พ.ศ. 2502)
- 31 พฤษภาคม – อุไรรัตน์ สร้อยมี เหยื่อการค้ามนุษย์ (ไม่ทราบปีเกิด)
มิถุนายน
แก้- 6 มิถุนายน – ชูวงศ์ ฉายะบุตร อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย (เกิด พ.ศ. 2479)
กรกฎาคม
แก้- 5 กรกฎาคม
- ขุนพันธรักษ์ราชเดช (บุตร พันธรักษ์) ตำรวจชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2446)
- รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง นักแสดงชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2475)
- 16 กรกฎาคม – สิปปนนท์ เกตุทัต อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง (เกิด พ.ศ. 2474)
- 26 กรกฎาคม – ทวิช กลิ่นประทุม อดีตรองนายกรัฐมนตรี (เกิด พ.ศ. 2473)
สิงหาคม
แก้- 9 สิงหาคม – ยก ชูบัว นักแสดงโนราชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2465)
- 13 สิงหาคม – พเยาว์ พูนธรัตน์ นักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2499)
กันยายน
แก้- 13 กันยายน – พระครูภัทรกิจวิบูล (ก้าน ภทฺทโก) พระสงฆ์ชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2462)
- 29 กันยายน – จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา องคมนตรี (เกิด พ.ศ. 2472)
ตุลาคม
แก้- 9 ตุลาคม – พระมงคลรังษี (สุวัฒน์ จนฺทสุวณฺโณ) พระสงฆ์ชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2462)
- 18 ตุลาคม – พระราชอุดมมงคล (เอหม่อง อุตฺตมรมฺโภ) พระราชาคณะชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2453)
- 19 ตุลาคม – โอสถ โกศิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (เกิด พ.ศ. 2456)
- 31 ตุลาคม – นวมทอง ไพรวัลย์ นักเคลื่อนไหวชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2489)
พฤศจิกายน
แก้- 16 พฤศจิกายน – อภิชาติ พัวพิมล นักแสดงชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2519)
- 21 พฤศจิกายน – หม่อมเจ้าอติวงศ์วิวัสวัติ สุริยง (ประสูติ พ.ศ. 2460)
- 22 พฤศจิกายน – ดรงค์ สิงห์โตทอง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี (เกิด พ.ศ. 2464)
ธันวาคม
แก้- 11 ธันวาคม – หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล (ประสูติ พ.ศ. 2445)
- 22 ธันวาคม – ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินแห่งชาติ (เกิด พ.ศ. 2477)
- 24 ธันวาคม – พระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ) พระราชาคณะชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2463)
ไม่ทราบวัน
แก้- ไพรัช เพิ่มฉลาด นักดนตรีชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2490)