บราวนิง ไฮ-พาวเวอร์

บราวนิง ไฮ-พาวเวอร์ (อังกฤษ: Browning Hi-Power) เป็นปืนพกกึ่งอัตโนมัติที่มีประสิทธิภาพและทรงพลังชนิดหนึ่งของโลก[1][2] ออกแบบเมื่อปี พ.ศ. 2456 โดยจอห์น บราวนิง ผู้ผลิตและออกแบบอาวุธปืนชาวอเมริกัน ผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2475 โดยบริษัทผลิตอาวุธปืนเบลเยียมเอฟเอ็น (FN) และผลิตครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2560[4]

บราวนิง ไฮ-พาวเวอร์
ชนิดปืนสั้นกึ่งอัตโนมัติ
แหล่งกำเนิดเบลเยียม
สหรัฐ
บทบาท
ประจำการ2483–ปัจจุบัน[1][2]
ผู้ใช้งานดูประเทศที่ใช้
สงครามสงครามโลกครั้งที่สอง[2]
สงครามเกาหลี
สงครามเวียดนาม
สงครามโรดีเชีย
สงครามฟอล์กแลนด์
ความยุ่งยากไอร์แลนด์
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบจอห์น บราวนิง
ช่วงการออกแบบ2456–2478
บริษัทผู้ผลิตเอฟเอ็น
ช่วงการผลิต2478–2560
จำนวนที่ผลิต1,500,000+
ข้อมูลจำเพาะ
มวล1 กิโลกรัม
ความยาว199 มิลลิเมตร

กระสุน
ความยาวลำกล้อง119 มม.
อัตราการยิงกึ่งอัตโนมัติ
ความเร็วปากกระบอก335 เมตร/วินาที[3]
ระยะหวังผล50 เมตร
ระบบป้อนกระสุน
  • 13 นัด (9 มม.)
  • 10 นัด (.40)

ไฮพาวเวอร์ บรรจุกระสุนได้ 13 นัด มีขนาดกะทัดรัด ลักษณะของปืนได้นำปืนพกรุ่นลูเกอร์ และเอ็ม 1911 มารวมในกระบอกเดียวกัน ไฮพาวเวอร์ใช้กระสุนขนาด 9×19 มิลลิเมตร และ .40 สมิตร์แอนด์เวสสัน ผลิตออกมาหลายรุ่น

คุณสมบัติ

แก้
  • ตัวปืนมีขนาดกะทัดรัด
  • ซองกระสุนบรรจุได้ 13 นัด
  • ป้องกันการปืนลั่นและมีความปลอดภัย
  • มีความแข็งแรงและทนทาน ง่ายต่อการพกพา
  • ระยะยิงหวังผล 50 เมตร[5]

การนำมาใช้

แก้
 
ปืนพก Browning Hi-Power ในรุ่น Pindad G1 ของประเทศอินโดนีเซีย

ไฮพาวเวอร์ นำมาใช้ครั้งแรกในสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อปี พ.ศ. 2483 และเป็นปืนพกที่นิยมใช้ในการทหารมาก่อนปี พ.ศ. 2533 จึงมีการผลิตออกมาเรื่อย ๆ โดนรุ่นปัจจุบันผลิตครั้งล่าสุดใน พ.ศ. 2560 และยังเป็นปืนพกมาตรฐานในกองทัพแคนาดา โดยใช้รุ่น MK1[6] นอกจากนี้ยังมีหลายประเทศผลิตปืนพกที่มีลักษณะคล้ายปืนพกรุ่นนี้ เช่น ประเทศอินโดนีเซีย[7]

รุ่นปืน

แก้

บราวนิง ไฮ-พาวเวอร์ มีรุ่นที่ผลิตหลายรุ่น แต่รุ่นที่เป็นที่รู้จักกันดี เช่น

  • พี 35 (P-35) เป็นรุ่นที่ผลิตออกมารุ่นแรก ถูกใช้ครั้งแรกในสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นรุ่นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
  • L9A1 ออกแบบโดยสหราชอาณาจักร เพื่อนำมาใช้ในกองทัพอากาศสหราชอาณาจักรในสงครามเย็น ทั้งยังเป็นต้นแบบของปืนพกกึ่งอัตโนมัติด้วยกัน กล็อก 17 (Glock 17)[8]
  • บีดีเอ (BDA) เป็นรุ่นย่อยของไฮพาวเวอร์ โดยนำแบบ FN Model 1900 มาผสมผสานกับไฮเพาว์เวอร์

ประเทศที่ใช้

แก้
 
ทหารแคนาดาใช้ปืนบราวนิง ไฮ-พาวเวอร์ขณะทำการฝึกทหารเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2552

ยุติการผลิต

แก้

ไฮเพาว์เวอร์ ถูกผลิตเป็นครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2560[40] จากนั้นก็ได้ขายลิขสิทธิ์และกรรมสิทธิ์ทั้งหมดให้แก่โรงงานยุทโธปกรณ์อิสโพธิ์, ประเทศอินเดีย[41]

อ้างอิง

แก้
  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 Arnold, David W. (2010-09-24). "Classic Handguns of the 20th Century: The Browning HI-Power". Handguns Magazine. สืบค้นเมื่อ 2010-01-19.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 Miller, David (2001). The Illustrated Directory of 20th Century Guns. Salamander Books Ltd. ISBN 1-84065-245-4.
  3. Miller, David (2001). The Illustrated Directory of 20th Century Guns. Salamander Books Ltd. ISBN 1-84065-245-4.
  4. http://www.browning.com/products/firearms/pistols/hi-power-pistols.html
  5. Miller, David (2001). The Illustrated Directory of 20th Century Guns. Salamander Books Ltd. ISBN 1-84065-245-4.
  6. "British armed forces get first new pistol since World War II". The Register. 2013-01-11. สืบค้นเมื่อ 2013-01-19.
  7. "Un repaso a las armas ligeras de Pindad" (ภาษาสเปน). ARMAS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-02. สืบค้นเมื่อ 2010-07-05.
  8. "British armed forces get first new pistol since World War II". The Register. 2013-01-11. สืบค้นเมื่อ 2013-01-19.
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 9.5 9.6 9.7 Valpolini, Paolo (June 2009). "There are Two Types of Men in this World..." (PDF). Armada International (Online). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ February 14, 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-02-13.
  10. 10.00 10.01 10.02 10.03 10.04 10.05 10.06 10.07 10.08 10.09 10.10 10.11 10.12 10.13 10.14 10.15 10.16 10.17 10.18 10.19 10.20 10.21 10.22 10.23 10.24 10.25 10.26 10.27 10.28 10.29 10.30 10.31 10.32 10.33 10.34 10.35 10.36 10.37 10.38 10.39 10.40 10.41 10.42 10.43 10.44 10.45 10.46 10.47 10.48 10.49 10.50 10.51 10.52 10.53 10.54 10.55 10.56 10.57 10.58 10.59 10.60 10.61 10.62 Jones, Richard D. Jane's Infantry Weapons 2009/2010. Jane's Information Group; 35 edition (January 27, 2009). ISBN 978-0-7106-2869-5.
  11. Army. "Self-Loading Pistol 9 millimetre Mark 3 - Australian Army". Defence.gov.au. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-27. สืบค้นเมื่อ 2012-11-15.
  12. "Landcomponent Onderwerp Bewapening GP 9 mm". Mil.be. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-07. สืบค้นเมื่อ 2012-11-03.
  13. "Browning 9mm Pistol". Canadian Forces. 2009-05-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-02. สืบค้นเมื่อ 2009-06-27.
  14. 14.0 14.1 Gander, Terry J.; Hogg, Ian V. Jane's Infantry Weapons 1995/1996. Jane's Information Group; 21 edition (May 1995). ISBN 978-0-7106-1241-0.
  15. 15.0 15.1 15.2 [1] เก็บถาวร มิถุนายน 14, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  16. 16.0 16.1 Ministry of Defence, Royal Netherlands Army (1991). Handboek voor de Soldaat 1991 (Soldier's Handbook) (VS 2-1350 ed.). Ministry of Defence. pp. 22–1.
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ HKPD
  18. Bishop, Chris (1998). Guns in Combat. Chartwell Books, Inc. ISBN 0-7858-0844-2.
  19. "Kopassus & Kopaska – Specijalne Postrojbe Republike Indonezije" (ภาษาโครเอเชีย). Hrvatski Vojnik Magazine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-22. สืบค้นเมื่อ 2010-06-12.
  20. "Un repaso a las armas ligeras de Pindad" (ภาษาสเปน). ARMAS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-02. สืบค้นเมื่อ 2010-07-05.
  21. Lavery, Don (2006-09-02). "Defence Forces to turn 'tomb raiders'". Irish Independent.
  22. 22.0 22.1 Meyr, Eitan (January 6, 1999). "Special Weapons for Counter-terrorist Units". Jane's — Law Enforcement. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 1, 2008. สืบค้นเมื่อ 2009-09-26.
  23. ncoicinnet. "Web Site of the Jamaica Defence Force". Jdfmil.org. สืบค้นเมื่อ 2012-11-03.
  24. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-05. สืบค้นเมื่อ 2018-05-01.
  25. "Armement". Armee.lu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-20. สืบค้นเมื่อ 2012-11-03.
  26. Thompson, Leroy (December 2008). "Malaysian Special Forces". Special Weapons. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-02. สืบค้นเมื่อ 2009-11-30.
  27. Struggle Kids' break colleague out of Police Station เก็บถาวร 2015-09-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  28. http://bemil.chosun.com/nbrd/gallery/view.html?b_bbs_id=10044&pn=1&num=177361
  29. Okoroafor, Cynthia (2015-08-27). "You probably didn't know that Nigeria already manufactures these weapons". Ventures. สืบค้นเมื่อ 2017-01-24.
  30. "Special Forces (Maritime) (Pakistan), Amphibious and special forces".
  31. [2] เก็บถาวร ธันวาคม 15, 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  32. Sebastian Miernik. "//- Strona poświęcona Wojskowej Formacji Specjalnej GROM -//". Grom.mil.pl. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-14. สืบค้นเมื่อ 2012-11-03.
  33. "Historia" (PDF). Gnr.pt. สืบค้นเมื่อ 2012-11-03.
  34. Neil Grant (2015). Rhodesian Light Infantryman: 1961-1980. Osprey Publishing. p. 21. ISBN 1472809629.
  35. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ RSA
  36. Stevens, R. Blake The Browning High Power Automatic Pistol. Collector Grade Publications (1990). ISBN 978-0-88935-089-2.
  37. "The state of the Union - Brendan O’Neill". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-10. สืบค้นเมื่อ 2012-03-16.
  38. British Military Adopts Glock 17 เก็บถาวร 2014-01-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Modernserviceweapons.com, January 12, 2013
  39. Uruguay to produce Glock pistols - Janes.com, 28 April 2013
  40. http://www.browning.com/products/firearms/pistols/hi-power-pistols.html
  41. "Multiplying the Sources: Licensed and Unlicensed Military Production" (PDF). Geneva: Small Arms Survey. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 23 December 2016. สืบค้นเมื่อ 21 September 2016.