สงครามแอลจีเรีย

สงครามแอลจีเรีย ยังเป็นที่รู้จักกันคือ สงครามเพื่ออิสรภาพแก่แอลจีเรีย หรือ การปฏิวัติแอลจีเรีย (อาหรับ: الثورة الجزائرية Al-thawra Al-Jazaa'iriyya; กลุ่มภาษาเบอร์เบอร์: Tagrawla Tadzayrit; ฝรั่งเศส: Guerre d'Algérie or Révolution algérienne) เป็นการสู้รบระหว่างฝรั่งเศสและแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติแอลจีเรีย(ฝรั่งเศส: Front de Libération Nationale – FLN) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1954 ถึง ค.ศ. 1962 ซึ่งนำไปสู่แอลจีเรียได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส ด้วยสงครามการให้เอกราชที่สำคัญครั้งนี้ มันเป็นความขัดแย้งที่ซับซ้อนที่เห็นได้อย่างเด่นชัดด้วยสงครามรบแบบกองโจร การสู้รบของขบวนการมาร์กี และมีการใช้ทรมาน ความขัดแย้งครั้งนี้ได้กลายเป็นสงครามกลางเมืองระหว่างชุมชนต่างๆและชุมนุมภายใน[20] สงครามครั้งนี้เกิดขึ้นส่วนใหญ่ในดินแดนแอลจีเรีย กับผลกระทบต่อประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่

สงครามแอลจีเรีย
الثورة الجزائرية
Tagrawla Tadzayrit
Guerre d'Algérie
ส่วนหนึ่งของ สงครามเย็นและการปลดปล่อยอาณานิคมแอฟริกา

ภาพถ่ายของฝรั่งเศสทำสงครามในแอลจีเรีย
วันที่1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1962
(7 ปี 4 เดือน 2 สัปดาห์ 4 วัน)
สถานที่
ผล ฝ่ายทหารจนมุม,[1][2][3][4]
ฝ่ายการเมืองแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติชนะ,
Évian Accords,
แอลจีเรียได้รับเอกราช,
สิ้นสุดของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส[5][6][7][8]
การล่มสลายของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และการก่อตั้งของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
แอลจีเรียได้รับอิสรภาพ
คู่สงคราม
FLN
MNA
PCA
 France FAF
(1960–61)
OAS
(1961–62)
Support:
Francoist Spain
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
Mourad Didouche 
Mustapha Benboulaïd 
Larbi Ben M'Hidi โทษประหารชีวิต
Ali La Pointe 
Ahmed Zabana โทษประหารชีวิต
Youcef Zighoud 
Benali Boudghène 
Bachir Chihani [ar; fr] 
Ali Mallah [ar] 
Colonel Amirouche 
Saadi Yacef
Politicians:
Abane Ramdane 
Ferhat Abbas
Houari Boumedienne
Hocine Aït Ahmed
Ahmed Ben Bella
Krim Belkacem
Frantz Fanon
Rabah Bitat
Mohamed Boudiaf
Ali Kafi
Ahmed Tewfik El Madani
Ahmed Francis
Mohamed Khider
Benyoucef Benkhedda
Abdelhamid Mehri
Mohamed Lamine Debaghine
Saad Dahlab
Mohammed Seddik Benyahia
Amar Ouamrane [ar; de; fa; fr]
Lakhdar Ben Tobbal
Abdelhafid Boussouf
Saïd Mohammedi
Ibrahim Mazhoudi
Alphonse Djamate (1955–62)
Paul Cherrière (1954–55)
Henri Lorillot (1955–56)
Raoul Salan (1956–58)
Jacques Massu (1956–60)
Paul Aussaresses
Maurice Challe (1958–60)
Jean Crepin (1960–61)
Fernand Gambiez (1961)
Said Boualam
Pierre Lagaillarde
Raoul Salan
Edmond Jouhaud
Jean-Jacques Susini
กำลัง
300,000 identified 40,000 civilian support 470,000 (maximum reached and maintained from 1956 to 1962)[1]: 17 
1.5 million total mobilized[9]
more than 90,000 Harkis
3,000 (OAS)
ความสูญเสีย
140,000[10] to 152,863 FLN soldiers[11][12] including 12,000 internal purges[13] (4,300 Algerian from the FLN and MNA killed in metropolitan France)

25,600 French soldiers dead 65,000 wounded[14]

  • 50,000 harkis (pro-france forces) killed or missing[15]

[16]

  • 6,000 European civilian deaths
  • 100 dead (OAS)
    2,000 jailed (OAS)
  • 250,000-300,000 (including 55,000 to 60,000 civilians)[17] Algerian casualties
    1 million Europeans fled[18]

    2,000,000 Algerians resettled or displaced[19][1]: 13 

    การเริ่มต้นอย่างมีประสิทธิภาพโดยสมาชิกแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ(FLN) เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954 ในช่วง Toussaint Rouge(วันสมโภชนักบุญทั้งหลายสีแดง) ด้วยความขัดแย้งครั้งนี้นำไปสู่วิกฤตการณ์ทางการเมืองอย่างร้ายแรงในฝรั่งเศสทำให้สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 ล่มสลาย(ค.ศ. 1946-58) ถูกแทนที่ด้วยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 พร้อมกับประธานาธิบดีที่เข้มแข็ง ด้วยความโหดร้ายของวิธีการที่ใช้โดยกองทัพฝรั่งเศสได้ล้มเหลวในการเอาชนะหัวใจและวิญญาณในแอลจีเรีย การสนับสนุนที่แปลกๆในประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่และชาวฝรั่งเศสที่มีศักดิ์ศรีในต่างประเทศต้องอับอาย[21][22]

    ภายหลังจากการประท้วงครั้งใหญ่ในแอลเจียร์และหลายเมืองอื่นๆต่างได้เรียกร้องเอกราช(ค.ศ. 1960)[23][24] และมติขององค์การสหประชาชาติได้ตระหนักถึงสิทธิในการได้รับเอกราช[25] ชาร์ล เดอ โกล ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ได้ตัดสินใจที่จะเปิดการประชุมเจรจากับแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ ผลสรุปด้วยการลงนามในข้อตกลงเอวีย็อง ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1962 การลงประชามติได้เกิดขึ้นเมื่อ 8 เมษายน ค.ศ. 1962 และคนในฝรั่งเศสมีสิทธิ์ในการลงคะแนนในการอนุมัติข้อตกลงเอวีย็อง ผลสุดท้ายคือ 91% การให้สัตยาบันในข้อตกลงครั้งนี้[26] และ 1 กรกฎาคม ข้อตกลงนั้นอยู่ภายใต้การลงประชามติครั้งที่ 2 ในประเทศแอลจีเรีย ด้วยผลโหวตในการได้รับเอกราช คือ เห็นด้วย 99.72% และไม่เห็นด้วย 0.28%[27]

    แผนการของฝรั่งเศสในการถอนกำลังนำไปสู่วิกฤตการณ์รัฐ รวมถึงความพยายามต่างๆที่จะลอบสังหารเดอ โกล รวมทั้งความพยายามที่จะก่อรัฐประหาร อดีตส่วนใหญ่ที่ถูกดำเนินโดย Organisation armée secrète (OAS), เป็นองค์กรใต้ดินที่ถูกก่อตั้งขึ้นมาจากบุคคลากรทางทหารส่วนใหญ่ของฝรั่งเศสที่สนับสนุนชาวฝรั่งเศสในแอลจีเรีย ซึ่งได้ก่อการวางระเบิดและฆาตกรรมจำนวนมากทั้งในประเทศแอลจีเรียและในแผ่นดินเกิดเพื่อหยุดยั้งแผนการให้อิสรภาพ

    เมื่อได้มอบอิสรภาพแล้วในปี ค.ศ. 1962 ชาวยุโรป-แอลจีเรีย(Pieds-noirs) 900,000 คนได้ลี้ภัยไปยังฝรั่งเศสภายในเวลาไม่กี่เดือนเพราะหวาดกลัวการล้างแค้นของแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ รัฐบาลฝรั่งเศสไม่ได้เตรียมความพร้อมสำหรับผู้ลี้ภัยจำนวนมหาศาลซึ่งทำให้เกิดความวุ่นวายในฝรั่งเศส ชาวมุสลิมแอลจีเรียส่วนใหญ่ที่ทำงานให้กับฝรั่งเศสจะถูกปลดอาวุธและถูกทิ้งไว้เบื้องหลัง เนื่องจากข้อตกลงระหว่างทางการฝรั่งเศสกับทางการแอลจีเรียได้ประกาศว่าจะไม่ดำเนินการอะไรใด ๆกับพวกเขา[28] อย่างไรก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับพวกฮาร์คิส(Harkis) มีหน้าที่ในการสนับสนุนแก่กองทัพฝรั่งเศส ถูกตราหน้าว่าเป็นพวกทรยศและหลายคนถูกสังหารโดยแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติหรือไม่ก็ถูกรุมประชาทัณฑ์ มีบ่อยครั้งหลังจากถูกลักพาตัวและถูกทรมาน[13]: 537 [29] มีจำนวนประมาณ 9,000 คนได้หลบหนีไปยังฝรั่งเศส[30] บางคนได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ชาวฝรั่งเศสที่ปฏิบัติด้วยการขัดคำสั่ง และในปี ค.ศ. 2016 พวกเขาและลูกหลานได้กลายเป็นส่วนที่สำคัญของประชากรแอลจีเรีย-ฝรั่งเศส

    อ้างอิง แก้

    1. 1.0 1.1 1.2 Windrow, Martin; Chappell, Mike (1997). The Algerian War 1954–62. Osprey Publishing. p. 11. ISBN 9781855326583.
    2. Introduction to Comparative Politics, By Mark Kesselman, Joel Krieger, William Joseph, page 108
    3. Contracting States: Sovereign Transfers in International Relations, By Alexander Cooley, Hendrik Spruyt, page 63
    4. Christian A. Herter: The American Secretaries of State and Their Diplomacy By George Bernard Noble, page 155
    5. Alec G. Hargreaves (2005). Memory, Empire, and Postcolonialism: Legacies of French Colonialism. Lexington Books. p. 1. ISBN 978-0-7391-0821-5. The death knell of the French empire was sounded by the bitterly fought Algerian war of independence, which ended in 1962.
    6. "The French defeat in the war effectively signaled the end of the French Empire" Collective Memory: France and the Algerian War (1954–1962) Jo McCormack – 2010 [1]
      Paul Allatson; Jo McCormack (2008). Exile Cultures, Misplaced Identities. Rodopi. p. 117. ISBN 978-90-420-2406-9. The Algerian War came to an end in 1962, and with it closed some 130 years of French colonial presence in Algeria (and North Africa). With this outcome, the French Empire, celebrated in pomp in Paris in the Exposition coloniale of 1931 and exalted in de Gaulle's description of "la France de Dunkerque à Tlemcen" [Greater France stretching from Dunkerque to Tlemcen], received its decisive death blow.
    7. Yves Beigbeder (2006). Judging War Crimes And Torture: French Justice And International Criminal Tribunals And Commissions (1940-2005). Martinus Nijhoff Publishers. p. 35. ISBN 978-90-04-15329-5. The independence of Algeria in 1962, after a long and bitter war, marked the end of the French Empire.
    8. France's Colonial Legacies: Memory, Identity and Narrative. University of Wales Press. 15 October 2013. p. 111. ISBN 978-1-78316-585-8. The difficult relationship which France has with the period of history dominated by the Algerian war has been well documented. The reluctance, which ended only in 1999, to acknowledge 'les évenements' as a war, the shame over the fate of the harki detachments, the amnesty covering many of the deeds committed during the war and the humiliation of a colonial defeat which marked the end of the French empire are just some of the reasons why France has preferred to look towards a Eurocentric future, rather than confront the painful aspects of its colonial past.
    9. "Algérie : Une guerre d'appelés". 2012-03-19.
    10. Travis, Hannibal (2013). Genocide, Ethnonationalism, and the United Nations: Exploring the Causes of Mass Killing Since 1945. Routledge. p. 137.
    11. [2] เก็บถาวร 2014-11-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Page 6 "The Algerian Ministry of War Veterans gives the figure of 152,863 FLN killed"
    12. [3] เก็บถาวร 2016-11-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน "The Algerian Ministry of War Veterans calculates 152,863 Front de Libération Nationale (FLN) deaths(french sources), and although the death toll among Algerian civilians may never be accurately known estimate of 1500000 to 2000000 were killed Page 576
    13. 13.0 13.1 Horne, Alistair (1978). A Savage War of Peace: Algeria 1954–1962. p. 358. ISBN 9781590172186.
    14. Stapleton, T.J. (2013). A Military History of Africa [3 volumes]. ABC-CLIO. pp. 1–272. ISBN 9780313395703. สืบค้นเมื่อ 2017-01-13.
    15. Encyclopedia of Violence, Peace and Conflict: Po - Z, index. 3, Academic Press, 1999 (ISBN 9780122270109, lire en ligne [archive]), p. 86.
    16. Crandall, R., America's Dirty Wars: Irregular Warfare from 1776 to the War on Terror, Cambridge University Press, 2014 (ISBN 9781139915823, lire en ligne [archive]), p. 184.
    17. From "Algeria: War of independence". Mass Atrocity Endings.:

      He also argues that the least controversial of all the numbers put forward by various groups are those concerning the French soldiers, where government numbers are largely accepted as sound. Most controversial are the numbers of civilians killed. On this subject, he turns to the work of Meynier, who, citing French army documents (not the official number) posits the range of 55,000–60,000 deaths. Meynier further argues that the best number to capture the harkis deaths is 30,000. If we add to this, the number of European civilians, which government figures posit as 2,788.

      Meynier's work cited was: Meynier, Gilbert. "Histoire intérieure du FLN. 1954–1962".

    18. Cutts, M.; Office of the United Nations High Commissioner for Refugees (2000). The State of the World's Refugees, 2000: Fifty Years of Humanitarian Action. Oxford University Press. p. 38. ISBN 9780199241040. สืบค้นเมื่อ 2017-01-13. Referring to Evans, Martin. 2012. Algeria: France's Undeclared War. New York: Oxford University Press.
    19. "Algeria – The Revolution and Social Change". countrystudies.us. สืบค้นเมื่อ 2017-01-13.
    20. Pervillé 2002, pp. 132–139 (chap. "Une double guerre civile").
    21. Keith Brannum, University of North Carolina Asheville, The Victory Without Laurels: The French Military Tragedy in Algeria(1954–1962) [4] เก็บถาวร 2014-10-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
    22. Irwin M. Wall, France, the United States, and the Algerian War, pp, 68–69. [5]
    23. Stora, Benjamin (2004). Algeria, 1830-2000: A Short History. ISBN 978-0801489167.
    24. Pervillé, G. (2012). Les accords d'Evian (1962): Succès ou échec de la réconciliation franco-algérienne (1954–2012). Armand Colin. ISBN 9782200281977. สืบค้นเมื่อ 2017-01-13.
    25. "Document officiel des Nations Unies". un.org. สืบค้นเมื่อ 2017-01-13.
    26. "référendum 1962 Algérie". france-politique.fr. สืบค้นเมื่อ 2017-01-13.
    27. "Proclamation des résultats du référendum d'autodétermination du 1er juillet 1962" (PDF). Journal Officiel de l'État Algérien. 6 July 1962. สืบค้นเมื่อ 2009-04-08.
    28. Évian accords, Chapitre II, partie A, article 2
    29. See http://www.aljazeera.com/news/2015/05/qa-happened-algeria-harkis-150531082955192.html and Pierre Daum's "The Last Taboo: Harkis Who Stayed in Algeria After 1962".|date=November 2017}}
    30. Ghosh, Palash (2 April 2012). "France-Algeria: 50 Years After Independence, What Happened To The Harkis?". International Business Times.