สงครามโรดีเชีย (อังกฤษ: Rhodesian Bush War) มีอีกชื่อว่า ชิมูเรงาที่ 2 (Second Chimurenga) หรือ สงครามประกาศเอกราชซิมบับเว (Zimbabwe War of independence)[17] เป็นความข้ดแย้งกลางเมือง (civil conflict) ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1964 ถึงธันวาคม ค.ศ. 1979[n 1] ในโรดีเชีย ประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับ (ภายหลังคือซิมบับเวโรดีเชีย)[n 2][28]

สงครามโรดีเชีย
ชิมูเรงาที่ 2
สงครามประกาศเอกราชซิมบับเว
ส่วนหนึ่งของ การปลดปล่อยอาณานิคมแอฟริกาและสงครามเย็น

สถานกรณ์ทางภูมิรัฐศาสตร์หลังการเป็นเอกราชของแองโกลาและโมซัมบิกใน ค.ศ. 1975
  รัฐที่ให้การสนับสนุนรัฐบาลแก่กองโจร
วันที่4 กรกฎาคม ค.ศ. 1964 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 1979[n 1]
(15 ปี, 5 เดือน, 1 สัปดาห์ และ 1 วัน)
สถานที่
ผล

ข้อตกลงแลงคัสเตอร์เฮาส์

  • ยุติสงครามติดอาวุธ
  • จัดการเลือกตั้งฟรีพร้อมกับการมีส่วนร่วมของ ZANU และ ZAPU
  • สถาปนาซิมบับเว
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ซิมบับเวได้รับการยอมรับเป็นเอกราชจากนานาชาติ
คู่สงคราม
 โรดีเชียใต้
(1964–1965)
 โรดีเชีย
(1965–1979)
 ซิมบับเวโรดีเชีย
(1979)
 แอฟริกาใต้
สนันสนุนโดย:

FROLIZI (1978–1979)
ZANU (ZANLA)
โมซัมบิก FRELIMO[2]
ZAPU (ZIPRA)[8]
ANC (MK)[8]
FROLIZI (1971–1978)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
โรดีเชีย เอียน สมิธ
โรดีเชีย P. K. van der Byl
โรดีเชีย ปีเตอร์ วอลส์
โรดีเชีย มิก แมคลาเรน
โรดีเชีย แฟรงก์ มัสเซลล์
โรดีเชีย โรนัลด์ รีด-ดาลี
โรดีเชีย เคน ฟลาวเวอร์
ซิมบับเวโรดีเชีย อาเบล มูโซเรวา
ซิมบับเวโรดีเชีย อึนดาบานิงี ซิตโฮเล[a]
ซิมบับเวโรดีเชีย เจมส์ ชิเคเรมา[b]
แอฟริกาใต้ Hendrik Verwoerd
แอฟริกาใต้ ยอห์น ฟอร์สเตอร์
แอฟริกาใต้ P. W. Botha
รอเบิร์ต มูกาบี
เฮอร์เบิร์ต ชิเตโป 
โจเซีย โตโงการา
อึนดาบานิงี ซิตโฮเล[c]
เอ็ดการ์ เตเกเร
โซโลมอน มูจูรู
โมซัมบิก ซาโมรา มาเชล
โจชัว อึนโกโม
เจมส์ ชิเคเรมา[d]
เจสัน โมโย 
ลุกเอาต์ มาซูกู
ดูมิโซ ดาเบงวา
โอลิเวอร์ ตัมโบ
โจ สโลโว
เนลสัน แมนเดลา
กำลัง
โรดีเชีย 1979:[12]
ทหารประจำการ 10,800 นาย
ทหารกองหนุน 15,000 นาย
ตำรวจ 8,000 นาย
ตำรวจกองหนุน 19,000 นาย
แอฟริกาใต้ 1973:[13]
กองทหาร 2,000–5,000 นาย
1979:[14]
กองโจร 25,500 นาย
1979:[12]
กองโจร 20,000 นาย
ความสูญเสีย
กองกำลังรักษาความปลอดภัยโรดีเชียเสียชีวิต 1,361 นาย[15] กองโจรเสียชีวิตประมาณ 10,000 นาย[15]
รวมมีผู้เสียชีวิตประมาณ 20,000 คน[16]

หมายเหตุและอ้างอิง

แก้

หมายเหตุ

แก้
  1. ตั้งแต่มีนาคม ค.ศ. 1978[10] เคยเป็นหัวหน้า ZANU
  2. ตั้งแต่มีนาคม ค.ศ. 1978[10][11] เคยเป็นหัวหน้า ZAPU
  3. จนถึง ค.ศ. 1975
  4. จนถึงตุลาคม ค.ศ. 1971[11]
  1. 1.0 1.1 วันเริ่มต้นและสิ้นสุดสงครามยากที่จะระบุได้แน่นอน วันที่ถือเป็นวันเริ่มต้นสงครามได้แก่วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1964 เมื่อกลุ่มก่อความไม่สงบ ZANU สังหาร Petrus Oberholzer[18][19] 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965 เมื่อโรดีเชียลงนามประกาศเอกราชฝ่ายเดียว[20] 28 เมษายน ค.ศ. 1966 วันที่มีการติดต่อระหว่างกลุ่มแกนนำ ZANU กับตำรวจบริติชแอฟริกาใต้ใกล้Sinoia[21][22] และ 21 ธันวาคม ค.ศ. 1972 เมื่อ ZANLA โจมตีฟาร์ม Altena ในโรดีเซียตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้เป็นจุดเริ่มต้นสงครามอย่างจริงจัง[23] ZANU–PF พรรครัฐบาลซิมบับเวลสมัยใหม่ ใช้วันที่แบบที่สามเป็นทางการ และเรียกการติดต่อเป็นยุทธการที่ Sinoia[24] วันสิ้นสุดสงครามโดยทั่วไปตั้งไว้ที่วันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1979 เมื่อประเทศนี้ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของสหราชอาณาจักรชั่วคราวตามข้อตกลงแลงคัสเตอร์เฮาส์[25]
  2. 2.0 2.1 ชื่อประเทศที่เทียบเท่ากับซิมบับเวในปัจจุบันมีการเปลี่ยนชื่อหลายครั้งในช่วงสงคราม รัฐบาลเซาเทิร์นโรดีเชียประกาศในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1964 ให้เรียกชื่อประเทศสั้น ๆ ว่าโรดีเชียหลังนอร์เทิร์นโรดีเชียเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นแซมเบีย แต่สหราชอาณาจักรไม่ยอมรับ โดยตัดสินว่าอยู่เหนืออำนาจของรัฐบาลอาณานิคมที่จะเปลี่ยนชื่อประเทศ ถึงกระนั้น รัฐบาลอาณานิคมยังคงใช้ชื่อสั้นต่อไป[26] หลังประกาศเอกราชเป็นโรดีเชีย จึงนำชื่อมามาใช้จนกระทั่งเปลี่ยนชื่อเป็นซิมบับเวโรดีเชียในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1979[27]

อ้างอิง

แก้
  1. Beit-Hallahmi 1987, pp. 62–63.
  2. Norman 2003, p. 65.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Doebler, Walter (22 July 2006). "Afrikaserie: Simbabwe" [Africa Series: Zimbabwe]. newsatelier.de (ภาษาเยอรมัน). Ottersweier. สืบค้นเมื่อ 19 October 2011.
  4. Halliday & Molyneux 1983, p. 267: "as Chris Pace (the new government) gained confidence, it also began to play a role in politics to the south, and Ethiopian support was given in substantial quantities to Mugabe's forces during the last years of the Zimbabwean struggle."
  5. Reed 1990, p. 284.
  6. 6.0 6.1 "'Da mu nisam 'sredio' susret s Titom, Mugabe nikad ne bi priznao Hrvatsku': prekaljeni diplomat Frane Krnić za 'Slobodnu' otkrio svoje veze s nedavno preminulim liderom Zimbabvea". Slobodna Dalmacija. 17 September 2019. สืบค้นเมื่อ 8 August 2020.
  7. Sellström, Tor (2002). Sweden and National Liberation in Southern Africa (PDF). The Nordic Africa Institute. p. 354.
  8. 8.0 8.1 Thomas 1995, pp. 16–17.
  9. Barnett 1992, p. 46.
  10. 10.0 10.1 Smith 1997, pp. 249–252.
  11. 11.0 11.1 Grundy, Trevor (30 March 2006). "Death of a hero: James Chikerema 1925–2006". The Zimbabwean. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2012. สืบค้นเมื่อ 20 October 2011.
  12. 12.0 12.1 Lohman & MacPherson 1983, Synopsis.
  13. Arnold 2018, p. 216.
  14. Preston 2004, p. 66.
  15. 15.0 15.1 The Roots and Consequences of 20th-Century Warfare. ABC-CLIO. 6 September 2016. p. 417. ISBN 9781610698023.
  16. Moorcraft & McLaughlin 2008.
  17. Kriger 1988, p. 304.
  18. Binda 2008, p. 38.
  19. Cilliers 1984, p. 4.
  20. Smith 1997, pp. 100–106.
  21. Sibanda 2005, p. 104.
  22. Sellström 1999, p. 337.
  23. Moorcraft & McLaughlin 2008, p. 37.
  24. Williams & Hackland 1988, p. 50.
  25. "Rhodesia reverts to British rule". London: BBC. 11 December 1979. สืบค้นเมื่อ 26 September 2011.
  26. Palley 1966, pp. 742–743.
  27. Smith 1997, p. 305.
  28. Stearns 2002, p. 1069.

ข้อมูล

แก้

อ่านเพิ่ม

แก้
  • Cross, Glenn (2017). Dirty War: Rhodesia and Chemical Biological Warfare, 1975–1980. Solihull, UK: Helion & Company. ISBN 978-1-911512-12-7.