ซิมบับเวโรดีเชีย

ซิมบับเวโรดีเชีย (อังกฤษ: Zimbabwe Rhodesia) หรือ ซิมบับเว-โรดีเชีย หรือชื่ออย่างไม่เป็นทางการคือ ซิมบับเว หรือ โรดีเชีย เป็นรัฐอธิปไตยที่ดำรงอยู่เป็นเวลาอันสั้น ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1979 ถึงวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1980[1] แม้ว่ารัฐจะไม่ได้รับการรับรองจากนานาประเทศก็ตาม[2][3] ซิมบับเวโรดีเชียถือเป็นรัฐสืบทอดของสาธารณรัฐโรดีเชียและอยู่ภายใต้รัฐบาลเปลี่ยนผ่านที่อยู่ในการควบคุมของสหราชอาณาจักร ทำให้บางครั้งมักถูกเปรียบเปรยว่าเป็นการก่อตั้งเซาเทิร์นโรดีเชียขึ้นมาใหม่ ซึ่งตามทฤษฎีรัฐธรรมนูญของบริเตนยังถือว่าเป็นรัฐบาลที่ชอบด้วยกฎหมายของดินแดนภายหลังการประกาศอิสรภาพฝ่ายเดียว (UDI) ใน ค.ศ. 1965 และอีกประมาณสามเดือนต่อมา อาณานิคมเซาเทิร์นโรดีเชียที่ก่อตั้งขึ้นมาใหม่ก็ได้รับการรับรองเอกราชภายในเครือจักรภพ ในฐานะสาธารณรัฐซิมบับเว

ซิมบับเวโรดีเชีย

ค.ศ. 1979–1980
คำขวัญSit Nomine Digna  (ละติน)
May she be worthy of the name
ที่ตั้งของ ซิมบับเวโรดีเชีย  (เขียวเข้ม)
ที่ตั้งของ ซิมบับเวโรดีเชีย  (เขียวเข้ม)
สถานะรัฐที่ไม่ได้รับการรับรอง
เมืองหลวงซอลส์บรี
ภาษาราชการอังกฤษ
ภาษาทั่วไป
เดมะนิมชาวซิมบับเวโรดีเชีย
ชาวโรดีเชีย
การปกครองสาธารณรัฐระบบรัฐสภา
ประธานาธิบดี 
• ค.ศ. 1979
Josiah Zion Gumede
นายกรัฐมนตรี 
• ค.ศ. 1979
อาเบล มูโซเรวา
ยุคประวัติศาสตร์สงครามเย็น
1 มิถุนายน ค.ศ. 1979
21 ธันวาคม ค.ศ. 1979
18 เมษายน ค.ศ. 1980
สกุลเงินดอลลาร์โรดีเชีย
ก่อนหน้า
ถัดไป
โรดีเชีย
โดยพฤตินัย:
เซาเทิร์นโรดีเชีย (ค.ศ. 1979)
โดยนิตินัย:
ซิมบับเว (ค.ศ. 1980)
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของซิมบับเว

อ้างอิง

แก้
  1. "New Hope For A Settlement: Mrs. Thatcher finds a fresh approach for Zimbabwe-Rhodesia". Time. Vol. 114 no. 7. MasterFILE Complete. 13 August 1979. สืบค้นเมื่อ 4 August 2023.
  2. Waddy, Nicholas (2013). "The Strange Death of 'Zimbabwe-Rhodesia': The Question of British Recognition of the Muzorewa Regime in Rhodesian Public Opinion, 1979". South African Historical Journal. 66 (2): 227–248. doi:10.1080/02582473.2013.846935. S2CID 159650816. สืบค้นเมื่อ 4 August 2023.
  3. Masters, Paul E. (2000). "Carter and the Rhodesian Problem". International Social Science Review. 75 (3/4). สืบค้นเมื่อ 4 August 2023.

หนังสืออ่านเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้