รัฐและดินแดนสหภาพของประเทศอินเดีย

ประเทศอินเดียเป็นสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 28 รัฐ และ 8 ดินแดนสหภาพ[1] รวมทั้งหมด 36 หน่วยการปกครอง

รัฐและดินแดนสหภาพของประเทศอินเดีย
หมวดหมู่สหพันธรัฐ
ที่ตั้งสาธารณรัฐอินเดีย
จำนวน28 รัฐ
8 ดินแดนสหภาพ
ประชากร
พื้นที่
หน่วยการปกครองมณฑล (Division), อำเภอ (District)

รายชื่อ แก้

 มหาสมุทรอินเดียอ่าวเบงกอลทะเลอันดามันทะเลอาหรับทะเลลักกาดีฟSiachen Glacierหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์จัณฑีครห์ดาดราและนครหเวลีดามันและดีอูเดลีลักษทวีปปุทุจเจรีปุทุจเจรีปุทุจเจรีรัฐอานธรประเทศรัฐอรุณาจัลประเทศรัฐอัสสัมรัฐพิหารรัฐฉัตตีสครห์รัฐกัวรัฐคุชราตรัฐหรยาณารัฐหิมาจัลประเทศรัฐชัมมูและกัศมีร์รัฐฌาร์ขัณฑ์รัฐกรณาฏกะรัฐเกรละรัฐมัธยประเทศรัฐมหาราษฏระรัฐมณีปุระรัฐเมฆาลัยรัฐมิโซรัมรัฐนาคาแลนด์รัฐโอริศารัฐปัญจาบรัฐราชสถานรัฐสิกขิมรัฐทมิฬนาฑูรัฐตริปุระรัฐอุตตรประเทศรัฐอุตตราขัณฑ์รัฐเบงกอลตะวันตกประเทศอัฟกานิสถานประเทศบังคลาเทศประเทศภูฏานประเทศพม่าประเทศจีนประเทศเนปาลประเทศปากีสถานประเทศศรีลังกาประเทศทาจิกิสถานดาดราและนครหเวลีดามันและดีอูปุทุจเจรีปุทุจเจรีปุทุจเจรีปุทุจเจรีรัฐอานธรประเทศรัฐกัวรัฐคุชราตรัฐชัมมูและกัศมีร์รัฐกรณาฏกะรัฐเกรละรัฐมัธยประเทศรัฐมหาราษฏระรัฐราชสถานรัฐทมิฬนาฑูประเทศปากีสถานประเทศศรีลังกาประเทศศรีลังกาประเทศศรีลังกาประเทศศรีลังกาประเทศศรีลังกาประเทศศรีลังกาประเทศศรีลังกาประเทศศรีลังกาประเทศศรีลังกา
แผนที่แสดง 28 รัฐ และ 8 ดินแดนสหภาพของประเทศอินเดีย (คลิกที่แผนที่เพื่อไปยังบทความของแต่ละรัฐและดินแดนสหภาพ)


รัฐ แก้

รัฐ ISO 3166-2:IN รหัส
ทะเบียนรถ
สภาเขต เมืองหลวง เมืองใหญ่สุด วันที่จัดตั้ง ประชากร[2] พื้นที่
(ตร.กม.)
ภาษา
ราชการ[3]
ภาษาราชการ
อื่น ๆ[3]
รัฐอานธรประเทศ IN-AP AP ใต้ ไฮเดอราบาด (โดยนิตินัย)
อมราวตี (โดยพฤตินัย) [4][5]
วิศาขาปัฏฏนัม 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 49,506,799 160,205 ภาษาเตลูกู
รัฐอรุณาจัลประเทศ IN-AR AR ตะวันออกเฉียงเหนือ อิฏานคร 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987 1,383,727 83,743 ภาษาอังกฤษ
รัฐอัสสัม IN-AS AS ตะวันออกเฉียงเหนือ ทิสปุระ คุวาหาฏี 26 มกราคม ค.ศ. 1950 31,205,576 78,550 ภาษาอัสสัม ภาษาเบงกอล, ภาษาโบโด
รัฐพิหาร IN-BR BR ตะวันออก ปัฏนา 26 มกราคม ค.ศ. 1950 104,099,452 94,163 ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู
รัฐฉัตตีสครห์ IN-CT CG กลาง นยารายปุระ รายปุระ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 25,545,198 135,194 ภาษาฮินดี
รัฐกัว IN-GA GA ตะวันตก ปณชี วัชกู ดา กามา 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 1,458,545 3,702 ภาษากงกณี ภาษาอังกฤษ, ภาษามราฐี
รัฐคุชราต IN-GJ GJ ตะวันตก คานธีนคร อะห์มดาบาด 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 60,439,692 196,024 ภาษาคุชราต
รัฐหรยาณา IN-HR HR เหนือ จัณฑีครห์ ฟรีดาบาด 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1966 25,351,462 44,212 ภาษาฮินดี ภาษาปัญจาบ[6][7]
รัฐหิมาจัลประเทศ IN-HP HP เหนือ ศิมลา (ฤดูร้อน)
ธรรมศาลา (ฤดูหนาว)[8]
ศิมลา 25 มกราคม ค.ศ. 1971 6,864,602 55,673 ภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต[9]
รัฐฌารขัณฑ์ IN-JH JH ตะวันออก รางจี ชัมเศทปุระ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 32,988,134 74,677 ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู[10]
รัฐกรณาฏกะ IN-KA KA ใต้ เบงคลูรู 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 61,095,297 191,791 ภาษากันนาดา ภาษาอังกฤษ
รัฐเกรละ IN-KL KL ใต้ ติรุวนันตปุรัม โกชิ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 33,406,061 38,863 ภาษามลยาฬัม ภาษาอังกฤษ
รัฐมัธยประเทศ IN-MP MP กลาง โภปาล อินโดร์ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 72,626,809 308,252 ภาษาฮินดี
รัฐมหาราษฏระ IN-MH MH ตะวันตก มุมไบ (ฤดูร้อน)
นาคปุระ (ฤดูหนาว)[11]
มุมไบ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 112,374,333 307,713 ภาษามราฐี
รัฐมณีปุระ IN-MN MN ตะวันออกเฉียงเหนือ อิมผาล 21 มกราคม ค.ศ. 1972 2,855,794 22,347 ภาษามณีปุระ ภาษาอังกฤษ
รัฐเมฆาลัย IN-ML ML ตะวันออกเฉียงเหนือ ชิลลอง 21 มกราคม ค.ศ. 1972 2,966,889 22,720 ภาษาอังกฤษ ภาษาคาซี
รัฐมิโซรัม IN-MZ MZ ตะวันออกเฉียงเหนือ ไอซอล 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987 1,097,206 21,081 ภาษาอังกฤษ, ภาษาฮินดี, ภาษามีโซ
รัฐนาคาแลนด์ IN-NL NL ตะวันออกเฉียงเหนือ โกหิมา ทีมาปุระ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1963 1,978,502 16,579 ภาษาอังกฤษ
รัฐโอฑิศา IN-OR OD ตะวันออก ภุพเนศวร 26 มกราคม ค.ศ. 1950 41,974,218 155,820 ภาษาโอริยา
รัฐปัญจาบ IN-PB PB เหนือ จัณฑีครห์ ลุธิยานา 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1966 27,743,338 50,362 ภาษาปัญจาบ
รัฐราชสถาน IN-RJ RJ เหนือ ชัยปุระ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 68,548,437 342,269 ภาษาฮินดี ภาษาอังกฤษ
รัฐสิกขิม IN-SK SK ตะวันออกเฉียงเหนือ กังต็อก 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1975 610,577 7,096 ภาษาอังกฤษ, ภาษาเนปาล ภาษาสิกขิม, ภาษากูรุง, ภาษาเลปชา, ภาษาลิมบู, ภาษามาคัร, ภาษาสุนุวาร์, ภาษาเนวาร์, Rai, ภาษาเศรปา, ภาษาตามาง
รัฐทมิฬนาฑู IN-TN TN ใต้ เจนไน 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 72,147,030 130,058 ภาษาทมิฬ ภาษาอังกฤษ
รัฐเตลังคานา IN-TG TS ใต้ ไฮเดอราบาด 2 มิถุนายน ค.ศ. 2014 35,193,978[12] 114,840[12] ภาษาเตลูกู, ภาษาอูรดู[13]
รัฐตริปุระ IN-TR TR ตะวันออกเฉียงเหนือ อัครตละ 21 มกราคม ค.ศ. 1972 3,673,917 10,492 ภาษาเบงกอล, ภาษาอังกฤษ, ภาษากอกบอรอก
รัฐอุตตรประเทศ IN-UP UP เหนือ ลัคเนา กานปุระ 26 มกราคม ค.ศ. 1950 199,812,341 243,286 ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู
รัฐอุตตราขัณฑ์ IN-UT UK เหนือ แกร์แซน (ฤดูร้อน)
เดห์ราดูน (ฤดูหนาว)[14]
เดห์ราดูน 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 10,086,292 53,483 ภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต[15]
รัฐเบงกอลตะวันตก IN-WB WB ตะวันออก โกลกาตา 26 มกราคม ค.ศ. 1950 91,276,115 88,752 ภาษาเบงกอล, ภาษาเนปาล ภาษาฮินดี, ภาษาโอริยา, ภาษาปัญจาบ, ภาษาสันถาลี, ภาษาอูรดู

ดินแดนสหภาพ แก้

ดินแดนสหภาพ ISO 3166-2:IN รหัส
ทะเบียนรถ
เมืองหลวง เมืองใหญ่สุด ประชากร[2] พื้นที่
(ตร.กม.)
ภาษา
ราชการ[3]
ภาษาราชการ
อื่น ๆ[3]
หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ IN-AN AN พอร์ตแบลร์ 380,581 8,249 ภาษาอังกฤษ, ภาษาฮินดี ภาษาเบงกอล, ภาษาทมิฬ, ภาษาเตลูกู, ภาษามลยาฬัม
จัณฑีครห์ IN-CH CH จัณฑีครห์ 1,055,450 114 ภาษาอังกฤษ, ภาษาฮินดี, ภาษาปัญจาบ
ดาดราและนครหเวลี และดามันและดีอู IN-DD DD ดามัน 586,956 603 ภาษาอังกฤษ, ภาษาคุชราต, ภาษาฮินดี ภาษากงกณี, ภาษามราฐี
เดลี IN-DL DL นิวเดลี 16,787,941 1,490 ภาษาอังกฤษ, ภาษาฮินดี ภาษาปัญจาบ, ภาษาอูรดู[16]
ชัมมูและกัศมีร์ IN-JK JK ศรีนคร (ฤดูร้อน)
ชัมมู (ฤดูหนาว)
ศรีนคร 12,258,433 55,538 ภาษาอังกฤษ, ภาษาอูรดู ภาษาโดกรี, ภาษากัศมีร์
ลาดัก IN-LA LA เลห์ (ฤดูร้อน)
การ์คิล (ฤดูหนาว)[17]
เลห์ 290,492 174,852 ภาษาอังกฤษ, ภาษาลาดัก
ลักษทวีป IN-LD LD กวรัตติ 64,473 32 ภาษาอังกฤษ, ภาษามลยาฬัม
ปุฑุเจรี IN-PY PY ปุฑุเจรี 1,247,953 492 ภาษาอังกฤษ,[18] ภาษาทมิฬ ภาษาเตลูกู, ภาษามลยาฬัม


อ้างอิง แก้

  1. DelhiAugust 5. "States and Union Territories" (ภาษาอังกฤษ). Know India Programme. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-19. สืบค้นเมื่อ 2020-04-21.
  2. 2.0 2.1 "List of states with Population, Sex Ratio and Literacy Census 2011".
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 50th report (July 2012 to June 2013)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 July 2016. สืบค้นเมื่อ 14 January 2015.
  4. "After 2200 Years, Amaravati Gets Back Power!".
  5. "Data". ap.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2017. สืบค้นเมื่อ 27 June 2014.
  6. "Haryana grants second language status to Punjabi". Hindustan Times. 28 January 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-03. สืบค้นเมื่อ 2020-05-19.
  7. "Punjabi gets second language status in Haryana". Zee news. 28 January 2010.
  8. "Dharamshala Declared Second Capital of Himachal". www.hillpost.in (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2017-01-21.
  9. Pratibha Chauhan (17 February 2019). "Bill to make Sanskrit second official language of HP passed". The Tribune. Shimla. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 February 2019. สืบค้นเมื่อ 18 February 2019.
  10. "Research data". ierj.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-25. สืบค้นเมื่อ 2020-05-19.
  11. Monsoon session to start in Maha’s winter Capital Nagpur from July 4
  12. 12.0 12.1 "Telangana State Profile". Telangana government portal. p. 34. สืบค้นเมื่อ 11 June 2014.
  13. "Urdu Gets First Language Status".
  14. "Gairsain Named Uttarakhand's New Summer Capital". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-05.
  15. "Sanskrit: Reviving the language in today's India – Livemint".
  16. "Official Language Act 2000" (PDF). Government of Delhi. 2 July 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 4 March 2016. สืบค้นเมื่อ 17 July 2015.
  17. Excelsior, Daily (12 November 2019). "LG, UT Hqrs, Head of Police to have Sectts at both Leh, Kargil: Mathur". สืบค้นเมื่อ 17 December 2019.
  18. "Regional data" (PDF). lawsofindia.org.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้