รัฐเบงกอลตะวันตก

เบงกอลตะวันตก (อังกฤษ: West Bengal; เบงกอล: পশ্চিমবঙ্গ) เป็นรัฐทางตะวันออกของประเทศอินเดีย มีพื้นที่ไปตามแนวอ่าวเบงกอล มีประชากรมากกว่า 91 ล้านคน คิดเป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 4 และมีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 13 ของประเทศอินเดีย ด้วยพื้นที่ 88,752 km2 (34,267 sq mi) มีอาณาเขตติดต่อรัฐสิกขิม รัฐอัสสัม และประเทศภูฏานทางทิศเหนือ ติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับรัฐโอริศาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับประเทศบังกลาเทศทางทิศตะวันตก และอ่าวเบงกอล มหาสมุทรอินเดียทางใต้ เมืองหลวงของรัฐคือโกลกาตา เมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 7 และเป็นเขตนครที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 3 ในประเทศอินเดีย

รัฐเบงกอลตะวันตก
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย
ประเทศ อินเดีย
ก่อตั้ง26 มกราคม 1950
เมืองหลวงโกลกาตา
เมืองใหญ่สุดโกลกาตา
อำเภอ
การปกครอง
 • องค์กรรัฐบาลรัฐ
 • ผู้ว่ารัฐ(?)[1]
 • มุขยปาลMamata Banerjee (AITC)
 • นิติบัญญัติสภานิติบัญญัติรัฐ (295)
 • ศาลสูงศาลสูงกัลกัตตา
พื้นที่
 • ทั้งหมด88,752 ตร.กม. (34,267 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่ที่ 13
ประชากร
 (2011)[2]
 • ทั้งหมด91,347,736 คน
 • อันดับที่ 4
 • ความหนาแน่น1,029 คน/ตร.กม. (2,670 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมชาวเบงกอล
GSDP (2018–19)[3][4]
 • รวม11.78 แลกห์โคร (5.0 ล้านล้านบาท)
 • ต่อหัว109,491 (47,000 บาท)
ภาษา
 • ทางการ
 • ทางการเพิ่มเติมภาษาเนปาลในสองตำบลของอำเภอดาร์จีลิง[6] in blocks, subdivisions or districts exceeding 10% of the population
เขตเวลาUTC+05:30 (IST)
รหัส ISO 3166IN-WB
ทะเบียนพาหนะWB
เอชดีไอ (2017)เพิ่มขึ้น 0.641 (medium) · ที่ 28[10]
การรู้หนังสือ (2011)77.08%[11]
อัตราส่วนเพศ (2011)950 /1000 [12]
^* 294 จากการเลือกตั้ง, 1 จากการแต่งตั้ง
สัญลักษณ์ของรัฐเบงกอลตะวันตก
ตราตราประจำรัฐ
ภาษา ภาษาเบงกอล
สัตว์
เสือปลา
สัตว์ปีก
นกกระเต็นอกขาว
ดอกไม้
กรรณิการ์
ต้นไม้
พญาสัตบรรณ

รัฐนี้มีความสำคัญมากโดยเฉพาะช่วงการเรียกร้องเอกราชของอินเดียซึ่งเป็นศูนย์กลางทั้งทางปัญญาและทางศิลปะในยุคนั้น[13] ในปี 1947 คณะกรรมการนิติบัญญัติเบงกอลและสภานิติบัญญัติเบงกอลได้ลงคะแนนการขีดเส้นแบ่งเบงกอลตามเส้นทางศาสนาออกเป็นสองส่วนที่ตัดขาดกัน คือ รัฐเบงกอลตะวันตก ซึ่งเป็นของประเทศฮินดูสถาน (อินเดียในปัจจุบัน) กับเบงกอลตะวันออก เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศปากีสถาน ซึ่งในภายหลังได้ประกาศเอกราชเป็นประเทศบังกลาเทศ

อ้างอิง แก้

  1. PTI (20 July 2019). "Centre appoints four new Governors, Jagdeep Dhankar now in-charge of West Bengal". The Hindu (ภาษาIndian English). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 July 2019. สืบค้นเมื่อ 20 July 2019.
  2. "Area, population, decennial growth rate and density for 2001 and 2011 at a glance for West Bengal and the districts: provisional population totals paper 1 of 2011: West Bengal". Registrar General & Census Commissioner, India. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2012.
  3. "MOSPI Gross State Domestic Product". Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India. 28 February 2020. สืบค้นเมื่อ 26 April 2020.
  4. "Medium Term Fiscal Policy & Fiscal Policy Strategy Statement 2019-2020" (PDF). Government of West Bengal. p. 6. สืบค้นเมื่อ 3 May 2019.
  5. "Fact and Figures". www.wb.gov.in. สืบค้นเมื่อ 30 March 2018.
  6. "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 52nd report (July 2014 to June 2015)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 85–86. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2016. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2016.
  7. Singh, Shiv Sahay (3 April 2012). "Official language status for Urdu in some West Bengal areas". The Hindu (ภาษาIndian English). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 June 2019. สืบค้นเมื่อ 3 June 2019.
  8. Roy, Anirban (28 February 2018). "Kamtapuri, Rajbanshi make it to list of official languages in". India Today. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 March 2018. สืบค้นเมื่อ 30 March 2018.
  9. "Multi-lingual Bengal". The Telegraph. 11 December 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 March 2018. สืบค้นเมื่อ 25 March 2018.
  10. "Sub-national HDI – Area Database". Global Data Lab (ภาษาอังกฤษ). Institute for Management Research, Radboud University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 25 September 2018.
  11. "Sex ratio, 0–6 age population, literates and literacy rate by sex for 2001 and 2011 at a glance for West Bengal and the districts: provisional population totals paper 1 of 2011: West Bengal". Government of India:Ministry of Home Affairs. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2012.
  12. "Sex Ratio in West Bengal". Census of India 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2014.
  13. Lochtefeld, James G (2001). The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Volume 2. The Rosen Publishing Group, Inc. p. 771. ISBN 9780823931804.