รัฐหิมาจัลประเทศ
หิมาจัลประเทศ (ฮินดี: हिमाचल प्रदेश, ออกเสียง: [ɦɪˈmaːtʃəl pɾəˈdeːʃ] ( ฟังเสียง); แปลว่า เขตแดนแห่งภูเขาที่มีหิมะปกคลุม) เป็นรัฐในประเทศอินเดียตอนบน ตั้งอยู่ในส่วนหนึ่งของหิมาลัยตะวันตก และเป็นหนึ่งในสิบเอ็ดรัฐหิมาลัยของอินเดีย มีภูมิประเทศสุดขั้วประกอบด้วยยอดเขาและระบบแม่น้ำมากมาย หิมาจัลประเทศมีพรมแดนติดต่อกับดินแดนสหภาพชัมมูและกัศมีร์และดินแดนสหภาพลาดักทางเหนือ, รัฐปัญจาบทางตะวันตก, รัฐหรยาณาทางตะวันตกเฉียงใต้ และรัฐอุตตราขัณฑ์และรัฐอุตตรประเทศทางใต้ รวมถึงมีพรมแดนติดต่อกับทิเบตซึ่งถูกจีนยึดครอง
รัฐหิมาจัลประเทศ | |
---|---|
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: ยอดเขาในเทือกเขาปารวตี, ฮีดีมบาเทวีมนเทียร, สำนักสงฆ์กีย์, ทะเลสาบปราชาร์, กินเนาร์ไกลาศ, ขัชเชียร์ | |
ที่มาของชื่อ: หิมาจัล (แปลว่า 'ภูเขาที่มีหิมะปกคลุม') และ ประเทศ (แปลว่า 'เขตแดน') | |
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย | |
แผนที่รัฐ | |
พิกัด (ศิมลา): 31°6′12″N 77°10′20″E / 31.10333°N 77.17222°E | |
รัฐ | อินเดีย |
ตั้งในฐานะดินแดนสหภาพ | 1 พฤศจิกายน 1956 |
ตั้งในฐานะรัฐ | 25 มกราคม 1971† |
เมืองหลวง | ศิมลา ธรรมศาลา |
12 อำเภอ | |
การปกครอง | |
• องค์กร | รัฐบาลรัฐหิมาจัลประเทศ |
• ผู้ว่าการรัฐ | Bandaru Dattatreya[1] |
• ตุลาการ | ลิงคาปปา นารายัณ สวามี[2] |
• มุขยนายก | ชัย ราม ฐากูร (BJP) |
• นิติบัญญัติ | สภาเดี่ยว[3] (68 ที่) |
• รัฐสภา | ราชยสภา 3 โลกสภา 4 |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 55,673 ตร.กม. (21,495 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | ที่ 17[4] |
ประชากร (2011)[5] | |
• ทั้งหมด | 6,864,602 คน |
• อันดับ | ที่ 21 |
• ความหนาแน่น | 123 คน/ตร.กม. (320 คน/ตร.ไมล์) |
ภาษา | |
• ทางการ | ภาษาฮินดี[6] |
• ทางการเพิ่มเติม | ภาษาสันสกฤต[7] |
เขตเวลา | UTC+05:30 (IST) |
รหัส ISO 3166 | IN-HP |
HDI (2018) | 0.725[8] (High) · 8th |
การรู้หนังสือ | 86.06%[9] |
เว็บไซต์ | www |
† ยกสถานะขึ้นเป็นรัฐผ่าน State of Himachal Pradesh Act, 1970 |
อ้างอิง
แก้- ↑ Reddy, R. Ravikanth (1 September 2019). "Telangana's 'people's leader' Bandaru Dattatreya appointed Himachal Pradesh Governor". The Hindu (ภาษาIndian English). สืบค้นเมื่อ 1 September 2019.
- ↑ IANS (6 October 2019). "Justice Lingappa Narayana Swamy Takes Oath As Himachal Chief Justice". NDTV.com. สืบค้นเมื่อ 6 October 2019.
- ↑ "Himachal Pradesh Vidhan Sabha". Hpvidhansabha.nic.in. 18 เมษายน 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 กรกฎาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2011.
- ↑ Statistical Facts about India, indianmirror.com, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 ตุลาคม 2006, สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2006
- ↑ "Himachal Pradesh Profile" (PDF). Census of India. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2016. สืบค้นเมื่อ 27 May 2016.
- ↑ "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 52nd report (July 2014 to June 2015)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 33–34. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 28 December 2017. สืบค้นเมื่อ 16 February 2016.
- ↑ Pratibha Chauhan (17 February 2019). "Bill to make Sanskrit second official language of HP passed". The Tribune. Shimla. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 February 2019. สืบค้นเมื่อ 18 February 2019.
- ↑ "Sub-national HDI – Area Database". Global Data Lab (ภาษาอังกฤษ). Institute for Management Research, Radboud University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 25 September 2018.
- ↑ Office of the Registrar General & Census Commissioner, India, Ministry of Home Affairs, "6. State of Literacy" (PDF), 2011 Census of India - Results, Government of India, เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2015, สืบค้นเมื่อ 13 February 2022,
[Statement 22(a)] Effective literacy rates – persons: 74.04%; males: 82.14%; females: 65.46%
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ รัฐหิมาจัลประเทศ