รัฐหรยาณา
หรยาณา (ฮินดี: हरियाणा, หริยาณา, ออกเสียง: [ɦəɾɪˈjaːɳaː]) เป็นรัฐในทางเหนือของประเทศอินเดีย แยกตัวออกมาจากรัฐเดิมคือปัญจาบตะวันออกเมื่อ 1 พฤศจิกายน 1966 เนื่องจากความต่างทางภาษา รัฐหรยาณามีพื้นที่มากเป็นอันดับที่ 22 คิดเป็นน้อยกว่า 1.4% (44,212 km2 หรือ 17,070 sq mi) ของพื้นที่ประเทศอินเดีย[7][1] มีเมืองจัณฑีครห์เป็นเมืองหลวงของรัฐ และมีฟะรีดาบาดในภูมิภาคเมืองหลวงแห่งชาติเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุด ส่วนเมืองคุรุครามเป็นแหล่งการเงินสำคัญของภูมิภาค ด้วยบริษัทฟอร์จูน 500 จำนวนมากตั้งอยู่ที่นี่[8] รัฐหรยาณาประกอบด้วย 6 มณฑล, 22 อำเภอ, 72 ตำบล, 93 เตหสิล, 50 เตหสิลย่อย, 140 ชุมชนเพื่อการพัฒนา, 154 เมือง, 6,848 หมู่บ้าน และ 6222 ครมปัญจยัต[9][7]
รัฐหรยาณา | |
---|---|
บนลงล่างซ้ายไปขวา: สถานีรถไฟใต้ดินฮูดาซิตีเซ็นเตอร์ในคุรุคราม, สวนปินโชเร, รูปปั้นบรอนซ์แสดงพระกฤษณะสนทนากับอรชุน ที่คุรุเกษตร, อาคารวาติกาบิสซิเนส ฟะรีดาบาด | |
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย | |
พิกัด (Chandigarh): 30°44′N 76°47′E / 30.73°N 76.78°E | |
ประเทศ | อินเดีย |
ตั้งเป็นรัฐ | 1 พฤศจิกายน 1966 |
เมืองหลวง | จัณฑีครห์† |
เมืองใหญ่สุด | ฟะรีดาบาด |
อำเภอ | 22 |
การปกครอง | |
• องค์กร | รัฐบาลรัฐหรยาณา |
• ผู้ว่าการรัฐ | สัตยเทวะ นารายัณ อรยา |
• มุขยนายก | มโนหร ลาล ขัตตร (BJP) |
• รองมุขยนายก | ทุศยันต์ เชาตลา (JJP) |
• นิติบัญญัติ | สภาเดี่ยว (90 ที่) |
• รัฐสภา | ราชยสภา (5 ที่) โลกสภา (10 ที่) |
พื้นที่[1] | |
• ทั้งหมด | 44,212 ตร.กม. (17,070 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | ที่ 21 |
ประชากร (2011) | |
• ทั้งหมด | 25,353,081 คน |
• อันดับ | ที่ 18 |
• ความหนาแน่น | 573 คน/ตร.กม. (1,480 คน/ตร.ไมล์) |
• อันดับความหนาแน่น | 11 |
เดมะนิม | หรยาณวี (Haryanvi) |
ภาษา[2][3] | |
• ทางการ | ภาษาฮินดี |
• ทางการเพิ่มเติม | |
GSDP (2018–19)[4] | |
• รวม | ₹8.31 ล้านล้าน (3.5 ล้านล้านบาท) |
• ต่อหัว | ₹264,206 (110,000 บาท) (ที่ 5) |
เขตเวลา | UTC+05:30 (IST) |
รหัส ISO 3166 | IN-HR |
ทะเบียนพาหนะ | HR-xx |
เอชดีไอ | 0.704 (2017)[5] (High) |
อันดับ เอชดีไอ | ที่ 11 |
อัตราส่วนเพศ | 0.879♀/♂[6] |
เว็บไซต์ | haryana |
^† Joint Capital with Punjab †† Common for Punjab, Haryana and Chandigarh. | |
สัญลักษณ์ของรัฐหรยาณา | |
สัตว์ | Black buck |
สัตว์ปีก | Black francolin |
ดอกไม้ | บัว |
ต้นไม้ | Peepal |
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "Haryana at a Glance". Government of Haryana. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 March 2016. สืบค้นเมื่อ 1 March 2016.
- ↑ "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 52nd report (July 2014 to June 2015)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 85–86. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 15 November 2016. สืบค้นเมื่อ 16 February 2016.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อpunjabiofficial
- ↑ "Net State Domestic Product". Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India. สืบค้นเมื่อ 28 April 2020.
- ↑ "Sub-national HDI - Area Database". Global Data Lab (ภาษาอังกฤษ). Institute for Management Research, Radboud University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 24 October 2018.
- ↑ "Haryana Population Sex Ratio in Haryana Literacy rate data". Census Commission of India. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2017. สืบค้นเมื่อ 13 August 2017.
- ↑ 7.0 7.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อharec1
- ↑ "This is NCR's new foodie magnet; have you been yet?". India Today. 26 March 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 April 2017. สืบค้นเมื่อ 21 April 2017.
- ↑ NIDM, p. 4.