อานธรประเทศ [อาน-ทะ-ระ-ปฺระ-เทด] (ฮินดี: आंध्र प्रदेश; เตลูกู: ఆంధ్ర ప్రదేశ్) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงใต้บนชายฝั่งของประเทศอินเดีย[12] มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่เจ็ดด้วยพื้นที่ 162,975 ตารางกิโลเมตร (62,925 ตารางไมล์)[6] และมีประชากรมากเป็นอันดับที่สิบด้วยประชากร 49,386,799 คน[13][14] อาณาเขตของรัฐติดต่อกับรัฐเตลังคานาทางตะวันตกเฉียงเหนือ, รัฐฉัตตีสครห์ทางเหนือ, รัฐโอริศาทางตะวันออกเฉียงเหนือ, รัฐทมิฬนาฑูทางใต้, รัฐกรณาฏกะทางตะวันตก และอ่าวเบงกอลทางตะวันออก[15] รัฐอานธรประเทศมีความยาวชายฝั่งยาวเป็นอันกับสองในอินเดียรองจากรัฐคุชราต ด้วยความยาวชายฝั่ง 974 กิโลเมตร[16] อานธรประเทศเป็นรัฐแรกในอินเดียที่จัดตั้งขึ้นด้วยประเด็นทางภาษาที่ใช้ของประชากร เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 1953[17] ในอดีต อานธรประเทศเคยเป็นพื้นที่สำคัญในการจาริกแสวงบุญของชาวพุทธ และเป็นศูนย์การศึกษาศาสนาพุทธที่สำคัญ รวมถึงพบวัด เจดีย์ และสถูปต่าง ๆ จำนวนมาก[18][19] อานธรประเทศยังเป็นที่รู้จักในฐานะดินแดนแห่งเพชรโกห์อีนูร์ และเพชรกอลคอนดาอีกมากมาย ที่ซึ่งเคยขุดพบในเหมืองโกลลูร์[20] อานธรประเทศยังเป็นที่รู้จักในชื่อ "ชามข้าวของอินเดีย" ในฐานะผู้ผลิตข้าวรายใหญ่ของอินเดีย[21]

รัฐอานธรประเทศ
คำขวัญ: 

"สัตยเมวะ"
(มีเพียงสัตย์ที่มีชัย)
เพลง:
"มาเตลูกูตัลลิกี"
(แด่มารดาเตลูกูของผองเราตลูกูของผองเรา)
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย
ประเทศ อินเดีย
จัดตั้ง1 พฤศจิกายน 1956[1]
เมืองหลวงนิตินัย:
พฤตินัย:
อมราวตี[c]
เมืองใหญ่สุดวิศาขาปัตนัม
อำเภอ13
การปกครอง
 • องค์กรรัฐบาลรัฐอานธรประเทศ
 • ผู้ว่าการรัฐวิศวภูสัน หริจันทัน[4][5]
 • มุขยนายกวาย. เอส. ชคันโมหัน เรฑี (YSRCP)
 • นิติบัญญัติรัฐระบบสภาคู่
 • รัฐสภา
 • ศาลสูงศาลสูงอานธรประเทศ
พื้นที่[6]
 • ทั้งหมด162,975 ตร.กม. (62,925 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่ที่ 7
ประชากร
 (2011)[7]
 • ทั้งหมด49,386,799 คน
 • อันดับที่ 10
 • ความหนาแน่น308 คน/ตร.กม. (800 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมอานธรุลู (Andhrulu), เตลูกูวารู (Teluguvaaru)
จีดีพี (2019–20 est.)[8]
 • รบม10.81 แลกห์โคร (4.6 ล้านล้านบาท) (15.3%)เพิ่มขึ้น
 • ต่อหัว164,025 (70,000 บาท)
เขตเวลาUTC+05:30 (IST)
UN/LOCODEAP
ทะเบียนพาหนะAP–39
อัตราการรู้หนังสือ67.41% (2011)
ภาษาทางการภาษาเตลูกู
ชายฝั่ง974 กิโลเมตร (605 ไมล์)
เอชดีไอ (2018)เพิ่มขึ้น 0.650[9]
medium · ที่ 27
เว็บไซต์www.ap.gov.in
สัญลักษณ์ของรัฐอานธรประเทศ
ตราปูรณฆตัม (Poorna Ghatam)
ภาษา
ภาษาเตลูกู
เพลงมาเตลูกูตัลลิกี[10]
การแสดง
Kuchipudi[11]
สัตว์
Blackbuck[11]
สัตว์ปีก
นกแก้ว[11]
สัตว์น้ำ
Mudfish[11]
Flower
ดอกมะลิ[11]
ผลไม้
มะม่วง[11]
ต้นไม้
Neem[11]
กีฬา
Kabaddi[11]

ดูเพิ่ม

แก้

หมายเหตุ

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 According to the provisions of Andhra Pradesh Decentralisation and Inclusive Development of All Regions Act, 2020.[2]
  2. The Andhra Pradesh Reorganisation Act, 2014 states that Hyderabad is common capital of both Telangana and Andhra Pradesh states for a period of time not exceeding 10 years.
  3. Amaravati currently serves as the seat of government where Andhra Pradesh Secretariat, Andhra Pradesh Legislature and High Court of Andhra Pradesh are located.[3]

อ้างอิง

แก้
  1. "Government to resume Andhra Pradesh Formation Day celebration on November 1". The New Indian Express. สืบค้นเมื่อ 2 August 2020.
  2. "Andhra Governor gives nod to CM Jagan Mohan Reddy's three-capital plan". Livemint (ภาษาอังกฤษ). 1 August 2020. สืบค้นเมื่อ 2 August 2020.
  3. "Andhra Pradesh HC Restrains Govt From Shifting Offices out of Amaravati". The Wire. สืบค้นเมื่อ 3 August 2020.
  4. "Anusuiya Uikey appointed Chhattisgarh Governor, Biswa Bhusan Harichandan is new Governor of Andhra Pradesh". Zee News. 16 July 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 July 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2019.
  5. "Veteran BJP leader Biswa Bhusan Harichandan appointed as Governor of Andhra Pradesh". The News Minute. 16 July 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 July 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2019.
  6. 6.0 6.1 "AP at a Glance". Official portal of Andhra Pradesh Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-21. สืบค้นเมื่อ 31 May 2019.
  7. "Demography" (PDF). Official portal of Andhra Pradesh Government. Government of Andhra Pradesh. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 July 2014. สืบค้นเมื่อ 10 June 2014.
  8. "MOSPI Gross State Domestic Product". Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India. 1 August 2019. สืบค้นเมื่อ 16 September 2019.
  9. "Sub-national HDI – Area Database". Global Data Lab. Institute for Management Research, Radboud University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 25 September 2018.
  10. Maitreyi, M. L. Melly (14 December 2017). "No official State song for WTC". The Hindu. The Hindu Group. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2017. สืบค้นเมื่อ 1 June 2018.
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 11.5 11.6 11.7 "Andhra Pradesh gets new state bird, state flower". Deccan Chronicle. 31 May 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2018. สืบค้นเมื่อ 1 June 2018.
  12. "Andhra Pradesh | History, Capital, Population, Map, & Points of Interest". Encyclopædia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 26 April 2020.
  13. "Andhra Pradesh Population (2019/2020)". www.populationu.com. สืบค้นเมื่อ 26 April 2020.
  14. "Coastal Length of Indian States". QuickGS.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 13 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-18. สืบค้นเมื่อ 26 April 2020.
  15. https://web.archive.org/web/20180827075513/https://www.ap.gov.in/?page_id=241. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-27. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  16. "Wayback Machine" (PDF). 21 September 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 September 2016. สืบค้นเมื่อ 26 July 2020.
  17. "The Indian Express - Google News Archive Search". news.google.com. สืบค้นเมื่อ 15 July 2020.
  18. by (27 January 2019). "Growth Of Buddhism in Andhra Pradesh". Andhra Pradesh PCS Exam Notes (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 15 July 2020.
  19. Reddy (retd), Capt Lingala Pandu Ranga (25 April 2016). "Kohinoor belongs to Telugus". Deccan Chronicle (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-20. สืบค้นเมื่อ 20 July 2020.
  20. Reddem, Appaji (22 April 2017). "In the quest of yet another Koh-i-noor". The Hindu (ภาษาIndian English). ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 27 April 2020.
  21. "Most Crucial facts about Andhra Pradesh (The Rice Bowl of India)". Jagranjosh.com. 6 January 2016. สืบค้นเมื่อ 27 April 2020.