จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน

จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ83.01%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อแผ่นดิน
ที่นั่งก่อนหน้า 4 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 4 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 279,805 20,063
% 87.93 6.31

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

ภาพรวม แก้

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน แก้

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 8 แก้

กลุ่มจังหวัดที่ 8 ประกอบไปด้วยจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดกระบี่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 8
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 156,932 4.08
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 61,688 1.60
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 33,729 0.88
ประชาธิปัตย์ (4) 3,086,262 80.17
พลังเกษตรกร (5) 26,029 0.68
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 26,472 0.69
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 319,984 8.31
ชาติไทย (13) 57,589 1.50
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 17,999 0.47
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 13,108 0.34
ประชากรไทย (18) 6,801 0.18
ประชามติ (19) 6,382 0.17
ไทเป็นไท (20) 14,823 0.39
พลังแผ่นดินไท (21) 6,440 0.17
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 5,297 0.14
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 6,587 0.17
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 3,480 0.09
บัตรดี 3,849,602 92.19
บัตรเสีย 240,163 5.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 86,016 2.06
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,175,781 77.96
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,356,089 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 8 แก้

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 8 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ ชวน หลีกภัย
บัญญัติ บรรทัดฐาน
ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
ชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นิพนธ์ บุญญามณี
พีรยศ ราฮิมมูลา
เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์
พรรคพลังประชาชน อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน มานพ ปัตนวงศ์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดตรัง แก้

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดตรัง
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 20,063 6.31
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 2,325 0.73
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 1,594 0.50
ประชาธิปัตย์ (4) 279,805 87.93
พลังเกษตรกร (5) 1,055 0.33
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 435 0.14
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 8,450 2.66
ชาติไทย (13) 646 0.20
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 595 0.19
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 659 0.21
ประชากรไทย (18) 242 0.08
ประชามติ (19) 160 0.05
ไทเป็นไท (20) 975 0.31
พลังแผ่นดินไท (21) 477 0.15
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 114 0.04
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 414 0.13
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 211 0.07
บัตรดี 318,220 92.65
บัตรเสีย 18,659 5.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,606 1.92
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 343,485 83.01
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 413,790 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต แก้

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองตรัง อำเภอห้วยยอด อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดตรัง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สาทิตย์ วงศ์หนองเตย (1)* 134,110 82.32
ประชาธิปัตย์ สุกิจ อัถโถปกรณ์ (2)✔ 128,681 78.99
เพื่อแผ่นดิน เอกรินทร์ นิลสวัสดิ์ (4) 22,299 13.69
พลังประชาชน ชัยพร ชูเสน (5) 5,976 3.67
เพื่อแผ่นดิน มาโนชญ์ เอียดบาง (3) 3,191 1.96
พลังประชาชน ธนัท ลาชโรจน์ (6) 3,184 1.95
ประชากรไทย ประสาร คงสาย (7) 1,503 0.92
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย โอพาส เห็นผลงาม (12) 1,055 0.65
ไทยร่ำรวย อำพัน เสนี (10) 863 0.53
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ชัยทัต สีสุข (11) 730 0.45
ประชากรไทย โกศล เตียวโซลิต (8) 443 0.27
ไทยร่ำรวย จ่าสิบเอก ธวัช ราชพลี (9) 312 0.19
บัตรดี 162,919 93.42
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,994 4.01
บัตรเสีย 4,479 2.57
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 174,392 83.09
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 209,894 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอปะเหลียน อำเภอนาโยง อำเภอย่านตาขาว อำเภอกันตัง อำเภอสิเกา และอำเภอหาดสำราญ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดตรัง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมชาย โล่สถาพรพิพิธ (1)* 127,071 80.59
ประชาธิปัตย์ สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล (2)* 122,148 77.47
เพื่อแผ่นดิน วันทา วงศ์ธรรมโอสถ (4) 17,970 11.40
พลังประชาชน ทวี ปรังพันธ์ (6) 8,119 5.15
พลังประชาชน เจริญ ศรนรายณ์ (5) 6,884 4.37
เพื่อแผ่นดิน ปกิต ยอดสนิท (3) 4,071 2.58
มัชฌิมาธิปไตย รัตนศักดิ์ นันตสินธุ์ (11) 3,091 1.96
มัชฌิมาธิปไตย ว่าที่ร้อยตรี มานะ เกตุพจน์ (12) 1,849 1.17
ไทยร่ำรวย อวิรุทธิ์ กิ้มเท่ง (7) 921 0.58
ไทยร่ำรวย อุไร ช่วยเรือง (8) 668 0.42
ไทเป็นไท สุระกิจ โดะโอย (9) 587 0.37
ไทเป็นไท สุชาติ ศรมณี (10) 354 0.23
บัตรดี 157,672 93.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,610 3.91
บัตรเสีย 4,811 2.85
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 169,093 82.93
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 203,896 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้